Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78023
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมบัติ ท้ายเรือคำ-
dc.contributor.authorภัณฑิรา ศรีใจen_US
dc.date.accessioned2023-06-13T08:41:13Z-
dc.date.available2023-06-13T08:41:13Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78023-
dc.description.abstractThe purposes of this research were to develop of Mathematics Learning Activities to Promote Number Sense for Primary School following the standard criteria 70/70. To compare the result of pretest and post-test activity by using Mathematics Learning Activities to Promote Number Sense for Primary School. The sample of this research consisted 42 grade 4-6 students, during the second semester in the academic year 2020 at Ban Cridonchai School Fang district, Chiang Mai province. Which was chose by cluster random sampling. The instruments using collected by Mathematics Learning Activities to Promote Number Sense 6 lessons and lessons plan 18 plans. Using final examination 30 points and subjective test 7 points and was analyzed by mean and One-way repeated measure MANOVA The research findings were as follow: 1) The overall of Mathematics Learning Activities to Promote Number Sense were 26.32 (E.I.), 2) All of Mathematics Learning Activities to Promote Number Sense were qualifies. The average of E1 is 88.91 and E2 is 56.94, and 3 ) The average score of pre-test and post-test of students who studies by collected Mathematics Learning Activities to Promote Number Sense. The achievement of posttest average were X̅ = 21.07, and standard deviation S.D. were 5.00 and pretest average were X̅ = 15.38, standard deviation S.D. were 6.37. The students learning progress average were X̅ = 5.69. The results of One-way repeated measure MANOVA showed that. To compare the result of pre-post test by using Mathematics Learning Activities to Promote Number Sense for Primary School is higher than before learning at the .01 level of significance.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการเรียนรู้คณิตศาสตร์en_US
dc.subjectความรู้สึกเชิงจำนวนen_US
dc.titleการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพื่อส่งเสริมความรู้สึกเชิงจำนวนสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาen_US
dc.title.alternativeThe Development of mathematics learning activities to promote number sense for primary school studentsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน-
thailis.controlvocab.thashคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ส่งเสริมความรู้สึกเชิงจำนวน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ที่มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70 และเพื่อเปรียบเทียบคะแนนความรู้สึกเชิงจำนวน ก่อน-หลัง จากการจัดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพื่อส่งเสริมความรู้สึกเชิงจำนวน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนบ้านศรีดอนชัย อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวนนักเรียน 42 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ชุดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ส่งเสริมความรู้สึกเชิงจำนวน จำนวน 6 ชุด เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ 18 แผน แผนละ 1 ชั่วโมง รวม 18 ชั่วโมง และแบบทดสอบความรู้สึกเชิงจำนวน เป็นแบบทดสอบแบบเลือกตอบ จำนวน 30 ข้อ 4 ตัวเลือก และแบบเติมคำตอบ 7 ข้อ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเยี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนพหคูณแบบวัคซ้ำทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1) กิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มีค่าดัชนีประสิทธิผล (E.I.) อยู่ที่ร้อยละ 26.32 2) กิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มีค่าดัชนีประสิทธิภาพทุกกิจกรรม ซึ่งมีค่า Eเ เท่ากับ 88.91และมีค่า E2 เท่ากับ 56.94 และ 3) ความรู้สึกเชิงจำนวนของนักเรียนเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนก่อนและหลัง จากการจัดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หลังเรียนมีค่าเฉลี่ย 21.07 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 5.00 ก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ย 15.38 ค่าส่วนเยี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 6.37 และนักเรียนมีความก้าวหน้า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 5.69 และการวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุคูณแบบวัดซ้ำทางเดียว (One-way repeated measure MANOVA) พบว่า การเปรียบเทียบก่อน-หลังเรียน จากการใช้กิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ส่งเสริมความรู้สึกเชิงจำนวน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา พบว่าทุกองค์ประกอบคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610232011 ภัณฑิรา ศรีใจ.pdf4.2 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.