Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78008
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพจนา พิชิตปัจจา-
dc.contributor.authorรังสรรค์ มะสุรินen_US
dc.date.accessioned2023-06-12T09:56:05Z-
dc.date.available2023-06-12T09:56:05Z-
dc.date.issued2022-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78008-
dc.description.abstractThe research on "Development of Chiang Mai International Airport Security System in Crisis Situation According to Business Continuity Management Approach" aims to 1. examine the guideline on development of Chiang Mai International Airport security system under crisis according to business continuity management approach and 2. investigate problems and barriers for development of Chiang Mai International Airport security system under crisis according to business continuity management approach. This research is a qualitative study, applying semi-structure questionnaires with 5 groups of study population including 7 executives and staff of Chiang Mai International Airport, 3 staff of business establishment at Chiang Mai International Airport, 2 domestic airline staff at Chiang Mai International Airport, 6 government employees stationing inside Chiang Mai International Airport, and 2 government employees stationing outside Chiang Mai International Airport. The study found that the production of the guideline on development of Chiang Mai International Airport security consists of 5 steps as follows. Step 1. Setting the goal and preparing documents; the business continuity of Chiang Mai International Airport Working Group on is responsible for setting the goal, work plan and business continuity strategies of Chiang Mai International Airport to be in accordance with ISO 22301:2019 Step. 2. Determining response structure; responsible unit will define response structure of each working unit to meet the goals set by AOT. Step 3. Notification and communication; focusing on internal and external communication of each unit and determining Call Tree for each subject. Step 4. Preparing business continuity approach; focusing on details of restoration after crisis. And Step 5. Restoring; organizing work structure per restoration plan to meet AOT standard. Problems and barriers include 1. Communication 2. Process on requesting permission to open a checkpoint. 3. Limited trained staff.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาระบบรักษาความปลอดภัยท่าอากาศยานนานาชาติเชียงใหม่ในสถานการณ์ฉุกเฉินตามแผนการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Chiang Mai International Airport security system in crisis situation according to business continuity management approachen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashท่าอากาศยานนานาชาติเชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการรักษาความปลอดภัย-
thailis.controlvocab.thashธุรกิจรักษาความปลอดภัย-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยเรื่อง "การพัฒนาระบบการรักษาความปลอดภัยท่าอากาศยานนานาชาติเชียงใหม่ ในสถานการณ์ฉุกเฉิน ตามแผนการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ" มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษา แนวทางในการพัฒนาระบบการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจด้านการรักษาความปลอดภัย ภายใต้ สถานการณ์ฉุกเฉิน ของท่าอากาศยานนานาเชียงใหม่ 2. ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาระบบ การรักษาความปลอดภัยตามแผนการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ ภายใต้สถานการณ์ฉุกเฉิน ของ ท่าอากาศยานเชียงใหม่ โดยงานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งใช้แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง โดยประชากรการศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วย 5 กลุ่มได้แก่ ผู้บริหารและพนักงานท่าอากาศยาน นานาชาติเชียงใหม่ จำนวน 7 ท่าน พนักงานสถานประกอบกิจการธุรกิจในท่าอากาศยานนานาชาติ เชียงใหม่ จำนวน 3 ท่าน พนักงานสายการบินภายในประเทศ ณ ท่าอากาศยานนานาชาติเชียงใหม่ จำนวน 2 ท่าน พนักงานส่วนราชการที่ปฏิบัติงานในท่าอากาศยานนานาชาติเชียงใหม่ จำนวน 6 ท่าน และพนักงานส่วนราชการที่ปฏิบัติงานภายนอกท่าอากาศยานนานาชาติเชียงใหม่ จำนวน 2 ท่าน ผลการศึกษาพบว่า การจัดทำแนวทางการพัฒนาการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ ของท่า อากาศยานนานชาติเชียงใหม่ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1. การกำหนดเป้าหมายและ การจัดทำเอกสาร โดยในขั้นตอนนี้มีคณะทำงานบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจท่าอากาศยาน เชียงใหม่ เป็นผู้ดำเนินการกำหนดเป้าหมาย แผนการดำเนินงาน และกลยุทธ์ความต่อเนื่องทางธุรกิจ ของท่าอากาศยานเชียงใหม่ให้เป็น ไปตามมาตรฐานสากล ISO 22301:2019 ขั้นตอนที่ 2 การกำหนด โครงสร้างการตอบสนอง โดยหน่วยงานที่รับผิดชอบจะเป็นผู้กำหนดโครงสร้างการตอบสนองของแต่ละส่วนงานให้ตรงตามเป้าหมายที่ ทอท.กำหนด ขั้นตอนที่ 3 การแจ้งเตือนและการสื่อสาร โดยเน้น การกำหนดขั้นตอนการสื่อสารภายในและภายนอกของหน่วยงาน และกำหนด Call Tree ในแต่ละ เรื่อง ขั้นตอนที่ 4 การจัดทำแผนความต่อเนื่องทางธุรกิจ โดยมุ่งเน้นการกำหนดรายละเอียดของการ ฟื้นฟูหลังสิ้นสุดเหตุการณ์ฉุกเฉิน และขั้นตอนที่ 5 การฟื้นฟู ซึ่งเป็นการจัดโครงสร้างการทำงานตาม แผนฟื้นฟูให้ได้ตามมาตรฐานตามที่ ทอท. กำหนดไว้ ปัญหาและอุปสรรคที่พบได้แก่ 1. ปัญหาด้านการสื่อสาร 2. ปัญหาด้านการคำเนินการขอ อนุญาตเปิดจุดตรวจค้น 3. ปัญหาด้านข้อจำกัดด้านบุคลากรที่ผ่านการอบรมen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631932044 รังสรรค์ มะสุริน.pdf2.6 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.