Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77986
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิฑูร ธนบดีกิจ-
dc.contributor.advisorภารวี มณีจักร-
dc.contributor.authorสุรพศ ใบยาen_US
dc.date.accessioned2023-06-11T00:17:34Z-
dc.date.available2023-06-11T00:17:34Z-
dc.date.issued2023-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77986-
dc.description.abstractThis study aims to evaluate the survival probability of small- and medium-sized enterprises (SMEs) in the service sector during the COVID-19 pandemic and empirically investigate their survival determinants by constructed from the entrepreneur and firm survival field. The sample group of 420 SMEs was analyzed utilizing the Cox proportional hazard model. Our result found that several business categories had various levels of survivability. The businesses that served exposure to tourists were more likely to fail. Furthermore, firm characteristics (size and ownership), financial structure (liquidity, operational efficiency, and debt), and government subsidies affect the probability of survival. Although, a dimension of entrepreneurial orientation does not influence the firm survival. However, we believe that entrepreneurial characteristics are significant through behavior, which manifests and affects survival only when the firm enters a crisis. We claim that the process of “Adaptation for survival.” Thus, entrepreneurial orientation is dynamic and influenced by the environment. Our quantitative analysis shows that entrepreneur decision and behaviors (innovativeness, competitive aggressive, and autonomous) are keys to driving the firm survival during COVID-19. These findings have several practical implications for businesses, governments, and policymakers in dealing with economic crisis.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความอยู่รอดen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมบริการen_US
dc.subjectโควิด-19en_US
dc.subjectอัตราส่วนทางการเงินen_US
dc.subjectคุณลักษณะผู้ประกอบการen_US
dc.subjectFirm survivalen_US
dc.subjectService sectoren_US
dc.subjectCovid-19en_US
dc.subjectFinancial ratioen_US
dc.subjectEntrepreneurial orientationen_US
dc.titleการสร้างแนวทางในการยกระดับวิสาหกิจไทยสู่ความสำเร็จและความอยู่รอดภายใต้ภาวะวิกฤตไวรัสโคโรนา 2019en_US
dc.title.alternativeCreating guidelines for upgrading SMEs towards success and survivability under the Coronavirus 2019 crisisen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashรัฐวิสาหกิจ -- ไทย-
thailis.controlvocab.thashอุตสาหกรรมบริการ-
thailis.controlvocab.thashผู้ประกอบการ-
thailis.controlvocab.thashโควิด-19 (โรค)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความน่าจะเป็นในการอยู่รอดของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในอุตสาหกรรมภาคบริการภายใต้วิกฤตไวรัสไวรัสโคโรนา 2019 และวิเคราะห์ปัจจัยความอยู่รอดของวิสาหกิจในเชิงประจักษ์ โดยการประยุกต์ทฤษฎีคุณลักษณะผู้ประกอบการ (Entrepreneurial Orientation) ทฤษฎีสภาพแวดล้อมขององค์กร (Organization Ecology Theory) และแนวคิดโครงสร้างทางการเงิน ร่วมกับการวิเคราะห์ด้วยแบบจำลองความเป็นอันตรายตามสัดส่วนค็อกซ์ (Cox Proportional Hazard model) ผลการศึกษา พบว่า ธุรกิจหลายประเภทมีระดับของความอยู่รอดต่างกัน ซึ่งขึ้นอยู่กับระดับของการพึ่งพารายได้จากการท่องเที่ยว อีกทั้ง ลักษณะของวิสาหกิจ (ขนาดกิจการและลักษณะความเป็นเจ้าของ) โครงสร้างทางการเงิน (สภาพคล่อง ประสิทธิภาพการดำเนินงาน และภาระหนี้สิน) และการอุดหนุนจากรัฐบาล เป็นปัจจัยกำหนดความอยู่รอดของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ถึงแม้ว่า คุณลักษณะของผู้ประกอบการในบางมิติไม่มีอิทธิพลต่อความอยู่รอดของวิสาหกิจ แต่อย่างไรก็ตาม เราเชื่อว่าคุณลักษณะผู้ประกอบการเป็นสิ่งสำคัญที่สะท้อนผ่านพฤติกรรม ซึ่งจะแสดงออกอย่างชัดเจนและส่งผลต่อความอยู่รอดของวิสาหกิจก็ต่อเมื่อกิจการนั้นเริ่มเข้าสู่ภาวะวิกฤต โดยกระบวนการดังกล่าวเรียกว่า “การปรับตัวเพื่อความอยู่รอด” ดังนั้น คุณลักษณะผู้ประกอบการจึงมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ซึ่งขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่กำลังเผชิญอยู่ ณ ขณะนั้น การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า พฤติกรรมและการตัดสินใจของผู้ประกอบการที่สะท้อนผ่านคุณลักษณะผู้ประกอบการด้านนวัตกรรม ด้านการแข่งขันเชิงรุก และด้านความเป็นอิสระ เป็นกุญแจสำคัญสู่ความอยู่รอดของวิสาหกิจในภาวะวิกฤตโควิด-19 การค้นพบนี้มีความสำคัญในทางปฏิบัติหลายประการสำหรับภาคเอกชน รัฐบาล และผู้กำหนดนโยบายในการวางแผนรับมือกับวิกฤตเศรษฐกิจen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631631010-สุรพศ ใบยา.pdf1.49 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.