Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77979
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปฐมาวดี จงรักษ์-
dc.contributor.authorมุขระวี คำเขื่อนen_US
dc.date.accessioned2023-06-08T10:28:21Z-
dc.date.available2023-06-08T10:28:21Z-
dc.date.issued2022-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77979-
dc.description.abstractThe objectives of this research were to study: 1) the policy implementation of the Thai textile using and wearing promotion and the support of the Lampang Provincial Community Development Office and policy implementation issues. 2) the decision-making process and related factors of government officials purchasing Thai textiles; and (3) the effects on OTOP entrepreneurs, textiles, and clothing types. The qualitative research methodology was used in this study. By gathering information from studies, research documents, and in-depth interviews. The data were gathered through surveys and conversations with staff from the Lampang Provincial Community Development Office, government officials working in Lampang Province, and OTOP entrepreneurs, textile and clothing types, totaling 14 people. The results of the study found that the Lampang Provincial Community Development Office follows the guidelines of four steps and the time period. The study also discovered that the majority of OTOP entrepreneurs are elderly, resulting in insufficient production capacity, and Thai textile patterns are not modern and do not correspond to demand. According to policy, government officials wear Thai textiles twice a week, and the majority of them buy Thai textiles from general clothing stores in Lampang Province, whether it is an OTOP or not. As a result of the policy, OTOP entrepreneurs, textile and clothing types earn more money.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการนำนโยบายการส่งเสริมและสนับสนุนการใช้และสวมใส่ผ้าไทยไปปฏิบัติของสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดลำปางen_US
dc.title.alternativeThe Policy implementation of the Thai textile using and wearing promotion and support of the Lampang Provincial Community Development Officeen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ -- ลำปาง-
thailis.controlvocab.thashสินค้าไทย -- ลำปาง-
thailis.controlvocab.thashผ้า -- ลำปาง -- การจัดซื้อ-
thailis.controlvocab.thashพนักงานเจ้าหน้าที่ -- ลำปาง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การนำนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ และสวมใส่ผ้าไทย ตามมติคณะรัฐมนตรี 9 มิถุนายน 2563 ไปปฏิบัติของสำนักงานพัฒนาชุมชน จังหวัดลำปาง และพบปัญหา อุปสรรคใดบ้าง 2) กระบวนการตัดสินใจซื้อและปัจจัยที่เป็นปัจจัย สนับสนุนในการตัดสินใจซื้อผ้าไทยของเจ้าหน้าที่รัฐในจังหวัดลำปาง และ 3) ผลกระทบที่เกิดขึ้น ต่อผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ประเภทผ้า เครื่องแต่งกายในจังหวัดลำปาง และใช้ระเบียบวิธีวิจัย เชิงคุณภาพ โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการศึกษาค้นคว้าเอกสาร และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ผู้ให้ข้อมูลหลักแบ่งเป็นบุคลากรสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดลำปาง, เจ้าหน้าที่รัฐในจังหวัดลำปาง และผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ประเภทผ้า เครื่องแต่งกาย รวมจำนวน 14 ราย ผลการศึกษาพบว่า สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดลำปางดำเนินการเป็น ไปตามมาตรการ ตามแนวทาง 4 ขั้นตอนและระยะเวลาที่กำหนด สำหรับปัญหา อุปสรรคที่พบ คือ ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ ส่งผลให้กำลังการผลิตไม่เพียงพอ และรูปแบบของ ผ้าไทยไม่ทันสมัย ไม่ตรงตามความต้องการของตลาด นโยบายดังกล่าวส่งผลให้เจ้าหน้าที่รัฐ กลุ่มเป้าหมายหลักสวมใส่ผ้าไทยจำนวน 2 วันต่อสัปดาห์ตามที่กำหนด และเจ้าหน้าที่รัฐส่วนใหญ่ เลือกซื้อผ้าไทยจากร้านค้าทั่วไปในจังหวัดลำปาง โดยไม่ได้คำนึงว่าเป็นผลิตภัณฑ์ OTOP หรือไม่ และยังส่งผลกระทบให้ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP มีรายได้เพิ่มมากขึ้นen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631932041 มุขระวี คำเขื่อน.pdf2.35 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.