Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77963
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปฐมาวดี จงรักษ์-
dc.contributor.authorปิยะวดี ประพฤติen_US
dc.date.accessioned2023-06-07T11:12:54Z-
dc.date.available2023-06-07T11:12:54Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77963-
dc.description.abstractA research paper on the collaborative development approach of the Mueang Len Subdistrict Municipality, San Sai District, Chiang Mai Province, with nearby local administrative organizations. Objectives : 1) study the collaborative of the Mueang Len Subdistrict Municipality with nearby local administrative organizations 2) study the supporting factors and obstacles factors of the Mueang Len Subdistrict Municipality with nearby local administrative organizations 3) Study the guidelines for the development of collaborative between Mueang Len Subdistrict Municipality with nearby local administrative organizations in order to develop the potential of local administrative organizations to be able to provide public services to the people to the fullest ; This research uses a qualitative research methodology. A semi-structured interview was used. The informants were 7 senior executives and director of the Muang Len Subdistrict Municipality, and 5 senior executives' local administrative organizations with nearby areas, totaling 12 persons. The results of the study found that the collaborative between the Mueang Len Subdistrict Municipality and the local administrative organizations with nearby areas, most notably, is collaborative in disaster prevention and mitigation. Factors that support the collaborative are those on problems facing the local community, such as the shortage of personnel and materials. equipment required for operation as much as the obstacles factors are the vision and policies of the executives that are not in the same direction, including the insufficient budget for local development. For the guidelines for the development of collaborative should start from Negotiating with local administrators to integrate together by making a memorandum of collaborative between the Mueang Len Subdistrict Municipality and the local government organizations in nearby areas to drive public services to bring more benefits to the people.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแนวทางการพัฒนาความร่วมมือของเทศบาลตําบลเมืองเล็น อําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ กับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ใกล้เคียงen_US
dc.title.alternativeCollaborative development approach of the Mueang Len Subdistrict Municipality, San Sai District, Chiang Mai Province, with nearby local administrative organizationsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashเทศบาลตำบลเมืองเล็น-
thailis.controlvocab.thashการปกครองท้องถิ่น-
thailis.controlvocab.thashสันทราย(เชียงใหม่) -- การเมืองและการปกครอง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยเรื่องแนวทางการพัฒนาความร่วมมือของเทศบาลตำบลเมืองเล็น อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ใกล้เคียง มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษา ความร่วมมือของเทศบาลตำบลเมืองเล็นกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ใกล้เคียง 2) ศึกษา ปัจจัยที่สนับสนุนและปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อความร่วมมือของเทศบาลตำบลเมืองเล็นกับองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ใกล้เคียง 3) ศึกษาแนวทางในการพัฒนาความร่วมมือของเทศบาลตำบล เมืองเล็นกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ใกล้เคียง เพื่อให้มีการพัฒนาศักยภาพขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นให้สามารถให้บริการสาธารณะแก่ประชาชนได้อย่างเต็มที่ งานวิจัยนี้ใช้ระเบียบ วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยใช้การสัมกาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง (Semi - Structured Interview) ผู้ให้ข้อมูล คือผู้บริหารระดับสูงและผู้อำนวยการกองต่าง ๆ ของเทศบาลตำบลเมืองเล็น จำนวน 7 คน และผู้บริหารระดับสูงขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ใกล้เคียง จำนวน 5 คน รวมผู้ให้ข้อมูล จำนวน 12 คน ผลการศึกษาพบว่า ความร่วมมือระหว่างเทศบาลตำบลเมืองเล็นกับองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นในพื้นที่ใกล้เคียงทั้ง 5 แห่งเป็นความร่วมมือที่เกิด โดยความสมัครใจ ความร่วมมือในการ จัดบริการสาธารณะที่เด่นชัดที่สุด คือ ความร่วมมือด้านงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ปัจจัย ที่สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือ คือ ปัจจัยด้านปัญหาที่ท้องถิ่นประสบร่วมกัน เช่น การขาดแคลน บุคลากรและวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน ส่วนปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อความร่วมมือ คือ วิสัยทัศน์และนโยบายของผู้บริหารที่มีแนวทางต่างกัน รวมถึงงบประมาณที่ได้รับจัดสรรมาไม่เพียงพอต่อการใช้พัฒนาท้องถิ่น สำหรับแนวทางในการพัฒนาความร่วมมือควรเริ่มต้นจาก การเจรจาของผู้บริหารท้องถิ่นบูรณาการร่วมกัน โดยการทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่าง เทศบาลตำบลเมืองเล็นกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ใกล้เคียงขับเคลื่อนการให้บริการ สาธารณะเพื่อให้ประชาชนได้รับประโยชน์มากยิ่งขึ้นen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631932034 ปิยะวดี ประพฤติ.pdf939.73 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.