Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77928
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐพล ตันตระกูลทรัพย์-
dc.contributor.authorธนธรณ์ ไพรวัลย์en_US
dc.date.accessioned2022-12-18T03:35:51Z-
dc.date.available2022-12-18T03:35:51Z-
dc.date.issued2022-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77928-
dc.description.abstractThe objective of this study was to present the roles of village health volunteers (VHVs) in the preparation of local political elections since 2019 in Chiang Mai municipality. This paper focused on: 1. studying the history and development of village health volunteers (VHVs) in Chiang Mai municipality until present; 2. studying the characteristics of the power relations between village health volunteers and local politicians and between village health volunteers and people in Chiang Mai municipality; and 3. studying the characteristics of power relations affecting local elections in Chiang Mai municipality. The methodology of this study, consisting of qualitative research and data collection by in-depth interview and focus-group discussion. The informants consist of village health volunteers (VHVs), local politician and people in the municipal area. The data was analyzed using descriptive research. The results of the study revealed that the power relations between village health volunteers, people, and politicians were divided into 2 types: 1. Village health volunteers' interactions with people took the form in a reciprocal relationship. 2. The relationships between village health volunteers and politicians were informal but VHVs played an important role as a channel for politician to reach people in the area. The impact of relationships between village health volunteers (VHVs) and local politicians were shown in local political election by village health volunteers assist local politician in election campaign. This role has developed to be a patronage relationship between village health volunteers (VHVs) and local politicians.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านen_US
dc.subjectการเลือกตั้งen_US
dc.subjectการเมืองท้องถิ่นen_US
dc.titleบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) กับการเตรียมการเลือกตั้งการเมืองท้องถิ่น ตั้งแต่ พ.ศ.2563 ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeRoles of Village Health Volunteers (VHV) with the preparation of local elections since 2020 in Chiang Mai city municipalityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashการเมือง-
thailis.controlvocab.thashการเลือกตั้ง-
thailis.controlvocab.thashการเลือกตั้งท้องถิ่น-
thailis.controlvocab.thashอาสาสมัครในงานบริการอนามัยชุมชน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) กับการ เตรียมการเลือกตั้งการเมืองท้องถิ่น ตั้งแต่ พ.ศ.2563 ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ โดยมุ่งเน้น 1. เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) จนถึงปัจจุบัน ในเทศบาลนครเชียงใหม่ 2. เพื่อศึกษาลักษณะความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) กับนักการเมืองท้องถิ่น และ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) กับประชาชน ในเทศบาลนครเชียงใหม่ 3. เพื่อศึกษาลักษณะความสัมพันธ์เชิงอำนาจที่ส่งผลต่อการเลือกตั้งท้องถิ่น ในเทศบาลนครเชียงใหม่ ด้วยการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกและทำสนทนากลุ่ม อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) นักการเมืองท้องถิ่น และประชาชนในพื้นที่ศึกษา และนำข้อมูลมาจัดระเบียบ วิเคราะห์ข้อมูล และสร้างข้อสรุปแบบเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่าความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ประชาชน และนักการเมือง แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ ได้แก่ 1.ความสัมพันธ์ระหว่างอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านกับประชาชน เป็นความสัมพันธ์แบบพึ่งพาอาศัยอย่างใกล้ชิด 2.ความสัมพันธ์ระหว่างอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านกับนักการเมืองเป็นความสัมพันธ์ที่ไม่เป็นทางการ โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านกลายเป็นช่องทางสำคัญในการเข้าถึงชาวบ้านของนักการเมือง ความสัมพันธ์ดังกล่าวแสดงออกผ่านการเลือกตั้ง โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีบทบาทสำคัญในการช่วยหาเสียง บทบาทดังกล่าวพัฒนากลายเป็นความสัมพันธ์เชิงอุปถัมภ์ระหว่างอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านกับนักการเมืองท้องถิ่นen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621932039 นางสาวธนธรณ์ ไพรวัลย์.pdf1.24 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.