Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77884
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorDatchanee Pattavarakorn-
dc.contributor.advisorChatthai Kaewtong-
dc.contributor.advisorJantrawan Pumchusak-
dc.contributor.authorSanguansak Sriphalangen_US
dc.date.accessioned2022-11-21T10:12:30Z-
dc.date.available2022-11-21T10:12:30Z-
dc.date.issued2022-10-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77884-
dc.description.abstractThis research, the synthesis and properties of rhodamine B derivatives for use as an easy-to-use optical temperature indicator label were studied. A series of macrocyclic compounds, methyl-N-benzylhexahomotriazacalix[3]arene (MeAC3), p-chloro-N-benzylhexahomo-triazacalix[3]arene (ClAC3), α-cyclodexdrin (α-CD), β-cyclodexdrin (β-CD), p-tert-cutylthiacalix[4]arene (TC4), calix[4]arene (C4), and resorcin[4]arene (RC4) were synthesized. Among these macrocyclic compounds, RC4 was determined to be the most appropriate candidate to replace BPA as the developer material used in thermochromic dyes. In tests of prepared thermochromic dyes, RC4 had results similar to those of BPA, achieving the best protonation/deprotonation equilibria and providing a dark contrast with the thermochromic dye. The density functional theory (DFT) calculations also showed stable complexes between RC4 and crystal violet lactone (CVL) via hydrogen-bond interactions. The color change of the rhodamine solution, filter paper dipped in rhodamine solution and rhodamine/polymer blend film were tested. It was found that the solution and the filter paper changed from colorless to pink after heat treatment. For the polymer/rhodamine blend films, it was also found that all films exhibited a colorless to pink color change when taken from room temperature to 80 °C. Moreover, the films turned orange when observing the color change under UV light. FT-IR (fourier transform infrared spectroscopy) and UV-Vis spectroscopy were used to study the color change mechanism. The FT-IR spectra of Open and closed structures of rhodamine B showed broadband at 3450-3250 cm-1 which was attributed to O-H stretching of the carboxylic group of open structure of Rhodamine B and a sharp band at 1725 cm-1 was attributed to C=O stretching of the carbonyl group. A strong peak appearing at 1067 cm-1 was attributed to C-O stretching and C-O stretching at 1067 cm-1 slightly shifted to 1066 cm-1 after synthesis. In addition, it was observed that FT-IR spectra of two structures of rhodamine were different, indicating that the structure has been changed in which open structure has completed the change to a closed structure. The UV-Vis spectroscopy results showed the absorbance at a wavelength of 530-580 nm in which the open structure Rhodamine B had higher absorbance intensity than the closed structure. From the experimental results, it can be concluded that polymer/rhodamine B blend film can be developed and applied as an optical temperature indicator label material.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectMacrocyclic Compounden_US
dc.subjectRhodamine Ben_US
dc.subjectThermochromic dyesen_US
dc.subjectThermo-responsiveen_US
dc.subjectPolymer filmen_US
dc.titleFabrication of Thermo-responsive Polymer/Rhodamine films for intelligent packaging applicationsen_US
dc.title.alternativeการประดิษฐ์ฟิล์มพอลิเมอร์/โรดามีนที่ตอบสนองต่ออุณหภูมิสำหรับประยุกต์เป็นบรรจุภัณฑ์ฉลาดen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.lcshPolymers-
thailis.controlvocab.lcshChemical industry-
thailis.controlvocab.thashContainers-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้สังเคราะห์และศึกษาสมบัติของอนุพันธ์โรดามีน บี เพื่อใช้เป็นตัวตรวจวัดอุณหภูมิอย่างง่าย โดยมีการสังเคราะห์กลุ่มสารประกอบแมคโครไซคลิก ได้แก่ เมทิล-เอ็น-เบนซิลเฮกซะโฮโมไตรอะซาคาลิก[3]แอรีน, พารา-คลอโร-เอ็น-เบนซิลเฮกซะโฮโมไตรอะซาคาลิค[3]แอรีน แอลฟา-ไซโคลเดกซ์ทริน, เบตา-ไซโคลเดกซ์ทริน, พารา-เติร์ท-บิวทิลไทอะคาลิก[4]แอรีน, คาลิก[4]แอรีน และเรซอร์ซิน[4]แอรีน พบว่าจากกลุ่มสารประกอบแมคโครไซคลิกทั้งหมดเรซอร์ซิน[4]แอรีน มีความเหมาะสมในการใช้เป็นสารพัฒนาสีในสีเทอร์โมโครมิก สามารถใช้ทดแทนบิสฟีนอล เอ ได้ดี ซึ่งในการทดสอบสมบัติของสีเทอร์โมโครมิก พบว่าเรซอร์ซิน[4]แอรีนให้ผลลัพธ์ที่คล้ายกับบิสฟีนอล เอ มีระบบสมดุลของการให้และรับโปรตอนได้ดี และทำให้สีเทอร์โมโครมิกมีเฉดสีเข้ม จากผลการคำนวณด้วยทฤษฎีฟังก์ชันนอลความหนาแน่น ยังแสดงถึงความเสถียรของสารประกอบเชิงซ้อนระหว่างเรซอร์ซิน[4]แอรีน และคริสตัลไวโอเลตแลคโตน โดยแสดงให้เห็นพันธะไฮโดรเจนเป็นอันตรกริยาที่เกิดขึ้นการทดสอบการเปลี่ยนสีของสารละลาย กระดาษกรอง และแผ่นฟิล์มที่มีอนุพันธ์โรดามีน พบว่าสารละลายและกระดาษกรองเปลี่ยนจากไม่มีสีเป็นสีชมพูหลังการปรับสภาพด้วยความร้อน สำหรับแผ่นฟิล์มพอลิเมอร์ที่ผสมอนุพันธ์โรดามีน พบว่าแผ่นฟิล์มทั้งหมดเปลี่ยนเป็นสีชมพู เมื่อนำแผ่นฟิล์มไปทดสอบด้วยความร้อนที่อุณหภูมิห้องถึงอุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส นอกจากนี้แผ่นฟิล์มจะเปลี่ยนเป็นสีส้ม เมื่อสังเกตการเปลี่ยนสีภายใต้แสงยูวี จากการศึกษากลไกการเปลี่ยนสีด้วยเทคนิคฟูเรียร์ทรานส์ฟอร์มอินฟราเรดสเปกโตรสโคปี และ ยูวี-วิซิเบิล สเปกโตรสโคปี พบว่า สเปกตรัม ของโครงสร้างอนุพันธ์โรดามีน บี ทั้งแบบเปิดและแบบปิดปรากฏแถบการสั่นแบบยืดของหมู่คาร์บอกซิล ที่ 3450-3250 ซม-1 และจะปรากฎแถบการสั่นแบบยืดของหมู่คาร์บอนิลที่ 1725 ซม-1 และปรากฎแถบการสั่นแบบยืดของพันธะระหว่างคาร์บอนกับออกซิเจน ที่ 1067 ซม-1 และหลังจากการสังเคราะห์แถบการสั่นแบบยืดของพันธะระหว่างคาร์บอนกับออกซิเจน ที่ 1067 ซม-1 จะขยับเปลี่ยนแปลงไปเล็กน้อยเป็น 1066 ซม-1 นอกจากนี้ ยังพบว่าสเปกตรัม ของโครงสร้างทั้งสองของโรดามีนมีความแตกต่างกัน ซึ่งสามารถบ่งชี้ได้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างจากโครงสร้างแบบเปิดเปลี่ยนเป็นโครงสร้างปิด ผลการดูดกลืนคลื่นแสงยูวีแสดงให้เห็นการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 530-580 นาโนเมตร ซึ่งโครงสร้างของโรดามีนแบบเปิด มีความเข้มของการดูดกลืนแสงที่สูงกว่าโครงสร้างแบบปิด จากผลการทดลองสามารถสรุปได้ว่าแผ่นฟิล์มพอลิเมอร์ที่ผสมอนุพันธ์โรดามีน บี สามารถพัฒนาและนำไปประยุกต์ใช้เป็นวัสดุบ่งชี้เพื่อตรวจวัดอุณหภูมิได้en_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590551080 Sanguansak Sriphalang.pdf590551080 Sanguansak Sriphalang2.81 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.