Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77856
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีวรา สุวรรณ-
dc.contributor.authorโชติรส บุญเป็งen_US
dc.date.accessioned2022-11-13T03:15:26Z-
dc.date.available2022-11-13T03:15:26Z-
dc.date.issued2022-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77856-
dc.description.abstractPorous concrete receives much more attention nowadays due to its excellent drainage and insulation properties. In this study, Expanded Polystyrene (EPS) foam waste was used as an admixture to the typical porous concrete in order to improve its mechanical properties. Acetone and toluene were applied as solvents for EPS foam with the ratios of 4:1 and 3:2. Portland cement mixtures were prepared with water-to-cement (W/C) ratios ranging from 0.25 to 0.70 before mixing with the EPS foam admixture. Crushed limestone sizing of 1/2” and 3/8” were used as coarse aggregate with the ratios of 30:70 and 50:50, respectively. The proportion of cement binder (Portland cement and EPS admixture) to coarse aggregate was set to 1:2.75 to produce the porous concrete samples. The results showed that porous concrete with the EPS admixture achieved higher compressive strength than the control sample without EPS admixture for both 7-day and 28-day age. The ESP admixture porous concrete yielded a maximum compressive strength of 11.04 MPa, while the porous concrete without admixture with a maximum compressive strength of 6.26 MPa. The EPS admixture was found to coat the coarse aggregate and increase the bonding between cement binder and those gravels. From such research, it was found that the EPS foam waste admixture can significantly improve the properties of the porous concrete and can also be a channel to utilize massive amount of EPS foam wastesen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectPorous Concreteen_US
dc.subjectExpanded Polystyrene Foamen_US
dc.subjectProperties of Porous Concreteen_US
dc.subjectAdmixtureen_US
dc.subjectgreen producten_US
dc.titleสมบัติของคอนกรีตพรุนที่มีซีเมนต์เพสต์และโฟมพอลิสไตรีน ขยายตัวเหลือทิ้งเป็นวัสดุเชื่อมประสานen_US
dc.title.alternativeProperties of porous concrete using cement paste and waste expanded polystyrene foam as binderen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashโพลิสไตรีน-
thailis.controlvocab.thashคอนกรีต-
thailis.controlvocab.thashซีเมนต์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในปัจจุบันผู้คนเริ่มให้ความสนใจและนิยมใช้คอนกรีตพรุนกันอย่างแพร่หลายเนื่องจากคอนกรีตพรุนนอกจากจะช่วยในเรื่องของการระบายน้ำได้ดีแล้วและยังช่วยในเรื่องของการดูดซับเสียง ทั้งยังสามารถช่วยลดปริมาณการใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ได้จำนวนไม่น้อย ในงานวิจัยนี้ได้มีการนำ โฟมพอลิสไตรีนเหลือทิ้งมาใช้เป็นสารผสมเพิ่มในปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ที่ช่วยเพิ่มกำลังรับแรงอัดให้กับคอนกรีตพรุนโดยในการทดลองจะใช้อัตราส่วนน้ำต่อซีเมนต์และอัตราส่วนน้ำต่อวัสดุเชื่อมประสาน ที่ 0.25 – 0.70 และที่มวลรวมหยาบขนาด 1/2 นิ้วและ 3/8 นิ้ว ในสัดส่วนขนาด 30:70 และ50:50 ตามลำดับ ในการทดสอบนี้จะทำการใช้โฟมพอลิสไตรีนเป็นสารผสมเพิ่ม (Admixture) ลงไปในปูนซีเมนต์ที่ร้อยละ 11 โดยน้ำหนัก ของซีเมนต์เพสต์ในการทำคอนกรีต โดยใช้อัตราส่วนวัสดุเชื่อมประสานต่อมวลรวมเป็น 1: 2.75 ผลการทดสอบพบว่าในคอนกรีตที่มีการเติมสารผสมเพิ่มจากโฟมพอลิสไตรีนเหลือทิ้งให้กำลังรับแรงอัดที่ดีกว่าคอนกรีตที่ไม่มีสารผสมเพิ่ม ทั้งอายุคอนกรีต 7วันและ 28วัน ให้กำลังรับแรงอัดสูงสุดถึง 11.04 MPa เมื่อเทียบกับคอนกรีตพรุนที่ไม่มีสารผสมเพิ่มที่ให้กำลังรับแรงอัดสูงสุดที่ 6.26 MPa และการทดสอบทางจุลภาคยังพบว่าสารผสมเพิ่มนี้ไม่ทำปฏิกิริยากับซีเมนต์เพสต์แต่จะช่วยเคลือบผิวของมวลรวมและซีเมนต์เพสต์ไว้ทำให้เกิดการยึดเกาะที่ดีขึ้นเมื่อคอนกรีตแข็งตัว จากการวิจัยดังกล่าวพบว่าการนำโฟมพอลิสไตรีนเหลือทิ้งมาใช้เป็นสารผสมเพิ่มในคอนกรีตพรุนจะช่วยเพิ่มคุณสมบัติทางกลให้แก่วัสดุและยังสามารถช่วยในเรื่องของการนำของเหลือทิ้งมาใช้ประโยชน์สูงสุดได้อีกด้วยen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630631010-โชติรส บุญเป็ง.pdf8.41 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.