Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77849
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณุพันธุ์ ประภาติกุล-
dc.contributor.advisorสุรพล เศรษฐบุตร-
dc.contributor.advisorแสงทิวา สุริยงค์-
dc.contributor.authorกิ่งกาญจน์ ชัยการen_US
dc.date.accessioned2022-11-10T18:40:51Z-
dc.date.available2022-11-10T18:40:51Z-
dc.date.issued2564-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77849-
dc.description.abstractThe purpose of this research was to study some basic economic and social characteristics of farmers. Analysis of opinion level in compliance with organic rice standard and analyze the problems of farmers and develop recommendations for the implementation of organic rice standards of farmers in Chiang Dao District, Chiang Mai Province. The population used in the research were farmers registered to rice in Chiang Dao District Chiang Mai Province with the Chiang Dao District Agriculture Office in 2019, who had never planted organic rice before And the suitable area for growing organic rice is that it is a lowland area and has rights in 7 sub-districts, namely Ping Khong Subdistrict, Chiang Dao Subdistrict, Thung Khao Phuang Subdistrict, Mae Na Subdistrict, Muang Ngai Subdistrict, Muang Kong Subdistrict and Mueang Na Subdistrict. Total 1 ,239 households. The researcher calculated the sample size. By applying Taro Yamane's calculation formula, using an acceptable tolerance of 0.07 or at 93% confidence level, a total of 176 households were sampled in this study and a simple random sampling method was used by lottery. Unlisted list of farmers. The instrument used for data collection was an interview form with a confidence value of 0.88 according to Cronbach's method. Data were collected during January-March 2020. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, maximum value, minimum value, standard deviation and the hypothesis by multiple regression analysis (Enter method). The study indicated that most farmers are male 71.0 percent, with an average age of 53.8 years and educated in the primary level. Farmers had an average rice cultivation experience of 21.6 years, the average number of household workers was 2.:2, with an average rice planting area of 5.9 rai. Most farmers do not rent fields for rice cultivation and the purpose of producing rice for distribution. Most farmers do not have any outstanding debt burden, with indebted farmers. Have average outstanding liabilities 87,072.29 baht. In the past 3 months, farmers received an average of 1.0 times of news about organic rice, contacted staff on organic rice 0.2 times, and in 2019, most farmers had no training experience in organic rice. Farmers are of the opinion that they can comply with organic rice standards at a moderate level. The results of the hypothesis testing showed that the age factor rice production objective there was a negative correlation but receiving news about organic rice there was a positive correlation with the opinion of the organic rice standard practice statistically significant at a level of 0.05. Problems and recommendations for the implementation of organic rice standards among farmers in Chiang Dao District. Chiang Mai Province it was found that most of the farmers faced a shortage of funds and think that growing organic rice is not worth the investment, planting plots next to plots that use chemicals, no water sources for producing organic rice, no knowledge of organic rice production, no support market, cannot get rid of diseases insects weeds without using chemicals and there is no organic rice seed source. As for the needs of farmers, farmers have a need for knowledge on organic rice production. Want to support the integration of organic rice production and a water source that can produce organic rice. Farmer have provided suggestions for implementing organic rice standards. That the planting and processing standards should be separated which argues that farmers can grow organic rice according to the standard but no mills for personal rice milling and there is no mill that only buys organic rice Therefore must be sold together with rice that uses chemicals. Therefore, relevant agencies must pay attention to the integration of organic rice production and continue to do so in order to expand the area for growing organic rice more. There is regular publicity to create awareness of organic rice production through channels that are easily accessible to farmers. and clearly set targets to promote organic rice production in the Chiang Dao area Support the creation of an organic rice production network as well as supporting a machine that is a rice milling machine with a production capacity suitable for organic rice production in the area It is managed in the form of a farmer group and market link as well as the further development of organic rice products.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความคิดเห็นต่อการปฏิบัติตามมาตรฐานข้าวอินทรีย์ของเกษตรกร อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeFarmer’s perception on compliance with organic rice standards of farmers, Chiang Dao District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashข้าวอินทรีย์ – การปลูก-
thailis.controlvocab.thashข้าวอินทรีย์ – การผลิต-
thailis.controlvocab.thashข้าวอินทรีย์ -- มาตรฐาน-
thailis.controlvocab.thashเกษตรกร -- เชียงดาว (เชียงใหม่)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะพื้นฐานบางประการทางเศรษฐกิจและสังคมของ เกษตรกร วิเคราะห์ระดับกวามคิดเห็นในการปฏิบัติดามมาตรฐานข้าวอินทรีย์ และวิเคราะห์ปัญหา ของเกษตรกรและพัฒนาข้อเสนอแนะ ในการปฏิบัติตามมาตรฐานข้าวอินทรีย์ของเกษตรกร ในอำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ เกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนปลูกข้าว ในอำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ กับสำนักงานเกษตรอำเภอเชียงดาว ในปี พ.ศ. 2562 ที่ไม่เคยปลูก ข้าวอินทรีย์มาก่อนและมีพื้นที่เหมาะสมในการปลูกข้าวอินทรีย์ คือ มีลักษณะเป็นพื้นที่ราบลุ่มและมี เอกสารสิทธิ์ในพื้นที่ 7 ตำบล ใด้แก่ ตำบลปิงโค้ง ตำบลเชียงดาว ตำบลทุ่งข้าวพวง ตำบลแม่นะ ตำบลเมืองงาย ตำบลเมืองคอง และ ตำบลเมืองนะ รวมทั้งสิ้น 1,239 ครัวเรือน ผู้วิจัยทำการคำนวณ ขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดขปรับใช้สูตรคำนวณของ Taro Yamane ใช้ความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ ที่ระดับ 0.07 หรือที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 93 ทำให้ได้กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ จำนวน 176 ครัวเรือน และ ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายโดยวิธีการจับสลากรายชื่อเกษตรกรแบบไม่ ใส่คืน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์ ที่มีคำความเชื่อมั่น 0.83 ตามวิธีของ Cronbach ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลในช่วงเดือนมกราคม - มีนาคม พ.ศ. 2563 สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบ สมมติฐาน โดยการวิเคราะห์ถดถอยพหุ (Multiple Regression Analysis) แบบนำเข้าทั้งหมด (Enter method) ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรผู้ปลูกข้าวเป็นเพศชายร้อยละ 71.0 อายุเฉลี่ย 53.8 ปี มีการศึกษา ระดับประถมศึกษา ประสบการณ์การปลูกข้าวเฉลี่ย 21.6 ปี จำนวนแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 2.2 คน มีจำนวนพื้นที่ปลูกข้าวเฉลี่ย 5.9 ไร่ เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่เช่าที่นาเพื่อปลูกข้าวและมีวัดถุประสงค์ การผลิตข้าวเพื่อจำหน่าย เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่มีภาระหนี้สินคงค้างโดยเกษตรกรที่มีภาระหนี้สิน จะมีภาระหนี้สินคงค้างเฉลี่ย 87,072.29 บาท ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา (มกราคม - มีนาคม พ.ศ. 2563) เกษตรกรได้รับข่าวสารเรื่องข้าวอินทรีย์เฉลี่ย 1.0 ครั้ง มีการติดต่อเจ้าหน้าที่เรื่องข้าวอินทรีย์เฉลี่ย 0.2 ครั้ง และในปี พ.ศ. 2562 เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่มีประสบการณ์การฝึกอบรมเรื่องข้าวอินทรีย์ ทั้งนี้เกษตรกรมีความคิดเห็นว่าสามารถปฏิบัติตามมาตรฐานข้าวอินทรีย์ได้ในระดับปานกลาง ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยด้านอายุ และวัตถุประสงค์การผลิตข้าวมีความสัมพันธ์เชิงลบ ส่วนการได้รับข่าวสารเรื่องข้าวอินทรีย์มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความคิดเห็นในการปฏิบัติตาม มาตรฐานข้าวอินทรีย์ของเกษตรกร ในอำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 ปัญหาและข้อเสนอแนะในการปฏิบัติตามมาตรฐานข้าวอินทรีย์ของเกษตรกรใน อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ประสบปัญหาขาดแคลนเงินทุนและ มีความคิดว่าการปลูกข้าวอินทรีย์ไม่คุ้มกับการลงทุน อีกทั้งการที่แปลงปลูกข้าวติดกับแปลงที่มีการใช้ สารเคมืย่อมทำให้มีผลต่อการรับรองมาตรฐานการปลูกข้าวอินทรีย์ นอกจากนี้เกษตรกรยังคง ขาดแคลนแหล่งน้ำสำหรับผลิตข้าวอินทรีย์ ตลอดจนการไม่มีความรู้เรื่องการผลิตข้าวอินทรีย์ การไม่มีตลาดรองรับผลผลิต การไม่สามารถกำจัดโรค แมลง วัชพืช โดยไม่ใช้สารเคมี และการไม่มี แหล่งเมล็ดพันธุ์ข้าวอินทรีย์ ตามลำดับ ด้านความต้องการของเกษตรกร พบว่า เกษตรกรมีความ ต้องการความรู้ด้านการผลิตข้าวอินทรีย์ตามมาตรฐาน ต้องการให้มีการสนับสนุนการรวมกลุ่มผลิต ข้าวอินทรีย์ และต้องการแหล่งน้ำที่สามารถผลิดข้าวอินทรีย์ได้ ดามลำดับ ทั้งนี้เกษตรกร ได้ให้ ข้อเสนอแนะในการปฏิบัติตามมาตรฐานข้าวอินทรีย์ว่าควรแยกมาตรฐานการปลูกข้าวและการแปรรูป ข้าวออกจากกัน โดยให้หตุผลว่าถึงแม้เกษตรกรจะสามารถปลูกข้าวอินทรีย์ตามมาตรฐานได้ แด่ไม่มี โรงสีสำหรับการสีข้าวและรับซื้อเฉพาะข้าวอินทรีย์ในแต่ละตำบล ดังนั้นเกษตรกรจึงต้องจำหน่าย รวมกับข้าวที่ใช้สารเคมีในราคารับซื้อที่เท่ากัน ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องให้ความความสำคัญกับกรรวมกลุ่มผลิดข้าวอินทรีย์และ ทำอย่างต่อเนื่องเพื่อให้พื้นที่การปลูกข้าวอินทรีย์ขยายเพิ่มมากขึ้น ควรมีการประชาสัมพันธ์สร้างการ รับรู้การผลิดข้าวอินทรีย์ผ่านช่องทางที่เกษตรกรเข้าถึงได้ง่ขอย่างสม่ำเสมอ และกำหนดเป้าหมายการ ส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์ในพื้นที่อำเภอเชียงคาวให้ชัดเจน การสนับสนุนการสร้างเครือข่าย การผลิตข้าวอินทรีย์ รวมทั้งการสนับสนุนเครื่องจักรกลที่เป็นเครื่องสีข้าวที่มีกำลังผลิต ที่เหมาะสมกับ ผลผลิตข้าวอินทรีย์ในพื้นที่ โดยบริหารจัดการในลักษณะกลุ่มเกษตรกร ตลอดจนการเชื่อมโยงตลาด ควบคู่กับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์ต่อไปen_US
Appears in Collections:AGRI: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610832016 กิ่งกาญจน์ ชัยการ.pdf5.97 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.