Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77831
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSuchart Kothan-
dc.contributor.advisorMontree Tungjai-
dc.contributor.advisorChatchanok Udomtanakunchai-
dc.contributor.authorKhin Thandar Htunen_US
dc.date.accessioned2022-11-05T09:31:13Z-
dc.date.available2022-11-05T09:31:13Z-
dc.date.issued2021-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77831-
dc.description.abstractIn this study, a non-invasive advanced molecular imaging technique completely elucidated the impact of fat distribution on anthropometric and laboratory parameters, especially indices of metabolic syndrome, dyslipidemia, hyperglycemia in young adults. A significant metabolic disorder symptom appeared in the overweight and obese group, and increased lipid deposition occurred in the abdomen, hepatocytes, and muscles that were detected by MRI MRS studies. Overall, the visceral fat depots had a marked influence on lipid biomarkers, blood triglyceride (r = 0.592, p < 0.001), and high-density lipoprotein cholesterol (r-=-0.484, p < 0.001). Intrahepatic lipid was associated with diabetes predictors for glycated hemoglobin (HbA1c%, r = 0.379, p < 0.001) and for fasting blood sugar (r = 0.333, p < 0.05). The study suggests that elevated liver fat might be treated as a simple biomarker of hyperglycemia and that visceral adipose tissue might be a dyslipidemia-treated biomarker, especially in young obese adults. Moreover, the study concludes that the abnormal accumulation of white fat in the internal organs and abdomen is more related to obesity-related systemic lipid metabolism disorders, and its importance is far greater than the accumulation of fat in peripheral tissues. The 'H NMR study revealed that the serum metabolome clearly differentiated overweight/ obese from the normal-weight counterpart in the field of metabolomics and young adult obesity. The obese group showed increased levels of lipids, glucose, glutamate, N-acetyl glycoprotein, alanine, lactate, 3 hydroxybutyrate, and branch chain amino acid (BCAA) and decreased levels of choline as compared with the normal-weight group. Lower levels of glutamine and glucose, and higher levels of N-acetyl glycoprotein and glutamate, could point to hyperactivation of the hexosamine pathway of the obese under hyperlipidemic conditions. In addition, visceral fat and serum triglyceride, acetoacetate, unsaturated lipid, and isoleucine were significantly higher in the obese with hyperlipidemia. Therefore, these compounds could be used as biomarkers to identify the characteristics and differences between hyperlipidemia and non-hyperlipidemia pathology in obese subjects. The results clearly provide the clinical diagnostic information for predicting potential metabolic risks in obese subjects.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleThe Co-assessment between proton magnetic resonance imaging and magnetic resonance spectroscopy for using as metabolic profile of human biomarkers in the obesity diseaseen_US
dc.title.alternativeการประเมินร่วมระหว่างโปรตอนแมกเนติกรีโซแนนซ์อิมเมจจิงและแมกเนติกรีโซแนนซ์สเปกโตรสโกปีเพื่อใช้เป็นเมตาโบไลต์โปรไฟล์ของไบโอมาร์คเกอร์ของมนุษย์ที่เป็นโรคอ้วนen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshObesity-
thailis.controlvocab.lcshBlood lipids-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้เป็นเทคนิคการสร้างภาพระดับโมเลกุลขั้นสูงแบบไม่รุกรานการแสดงผลของการ กระจายไขมันทางมนุษยวิทยาและผลการตรวจต่างๆทางห้องปฏิบัติการได้อย่างดีโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ใน กลุ่มเมแทบอลิกซินโครมภาวะไขมันในเลือดผิดปกติภาวะน้ำตาลในเลือดสูงของผู้ใหญ่วัยหนุ่ม สาวอาการผิดปกติทางเมตาบอลิซึมที่มีนัยสำคัญในกลุ่มที่มีน้ำหนักเกินและเป็นโรคอ้วนเช่นการ สะสมของไขมันเพิ่มขึ้นในช่องท้องเซลล์ตับและกล้ามเนื้อที่ตรวจด้วยเอ็มอาร์ไอและเอ็มอาร์เอส (MRIMRS)ดยภาพรวมการ สะสมไขมันในช่องท้องมีอิทธิพลอย่างชัดเจนต่อตัวบ่งขี้ทางชีวภาพของ ไขมันไตรกลีเซอไรค์ในเลือด ((r= 0.592, p<0.001),ไลโพโปรตีนหนาแน่นสูง (r=0.484, p<0.001), และ ไขมันในดับสัมพันธ์กับตัวบ่งชี้ ของโรคเบาหวานที่สำคัญคือฮีโมโกลบินไกลเคด(HbA1c%r=0.379, p<0.001), น้ำตาลในเลือดหลังอด อาหาร (r=0.333, p<0.05) จากการศึกษาชี้ให้เห็นว่าไขมันในดับที่สูง อาจเป็นตัวบ่งชี้ทางชีวภาพอย่างง่ายของภาวะน้ำตาลในเลือดสูงเนื้อเชื่อไขมันในอวัยวะภายในอาจเป็น ตัวบ่งชี้ทางชีวภาพที่มีระดับไขมันใน เลือดผิดปกติโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ใหญ่ที่เป็นโรคอ้วน นอกจากนี้พบว่าการสะสมที่ผิดปกติของเนื้อเยื่อไขมันสีขาวในอวัยวะภายในและช่องท้องมี ความสัมพันธ์กับความผิดปกติของการเผาผลาญไขมันในร่างกายที่เกี่ยวข้องกับโรคอ้วนและมี ความสำคัญที่มากกว่าการสะสมของไขมันในเนื้อเชื่อส่วนปลายจากการศึกษาด้วยเทคนิค 'HNMR พบว่าสารเมแทบอไลด์ในซีรัมสามารถจำแนกความแตกต่างของผู้มีน้ำหนัก เกินและโรคอ้วนออกจาก กันได้อย่างชัดเจนในค้านเมตาบอลิซึมในวัยหนุ่มสาวโดยกลุ่มโรคอ้วนมีระดับ ไขมันกลูโสกลูตา เมตเอ็นอะเซทิลไกลโคโปรตีนอะลานีนแลคเตต3ไฮดรอกชีบิวทิเรตและกรดอะมิโน สายโซ่ (BCAA) เพิ่มขึ้นและมีระดับโคลีนลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มน้ำหนักปกติจากระดับกลูตามีน และกลูไคสที่ ต่ำลงและระดับเอ็นอะเซทิลไกลโคโปรตีนและกลูตาเมตที่สูงขึ้นอาจ เนื่องจากการทำงานที่มากเกินไป ของวิถีเฮกโซซามึนใน โรคอ้วนภายใต้สภาวะไขมันในเลือดสูงนอกจากนี้ไขมันในช่องท้องและไตร กลีเซอไรด์ในซีรัมอะซิโตอะชีเดตไขมันไม่อิ่มตัวและไอโซลิวซีนมีค่าสูงขึ้นอย่างมี นัยสำคัญในคน อ้วนที่มีภาวะไขมันในเลือดสูงดังนั้นสารประกอบเหล่านี้จึงใช้เป็นตัวบ่งชี้ทางชีวภาพเพื่อ ระบุความ แตกต่างระหว่างภาวะ ไขมันในเลือดสูงกับภาวะ ไขมันในเลือดปกติเพื่อนำไปสู่การวินิจฉัยใน ทาง คลินิกจากการมี เมตาบอลิซึมที่ผิดปกติในโรคอ้วนได้en_US
Appears in Collections:AMS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611155803 KHIN THANDAR HTUN.pdf2.81 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.