Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77828
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSongsak Sriboonchitta-
dc.contributor.advisorLiu, Jianxu-
dc.contributor.advisorWoraphon Yamaka-
dc.contributor.authorCheng, Yangnanen_US
dc.date.accessioned2022-11-05T09:15:51Z-
dc.date.available2022-11-05T09:15:51Z-
dc.date.issued2021-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77828-
dc.description.abstractCompared with most of the financial markets in developed countries, China's stock market has a short history of 30 years. Though developing rapidly, it is not mature and faces a lot of challenges. The Global Financial Crisis(GFC) in 2008 brought huge losses to the Chinese stock market. In the ten years after the GFC, it has experienced four bull markets and bear markets. In 2020, the COVID-19 pandemic struck financial market struck it again, but China's stock market ended 2020 on a high note, with a key benchmark up 27% and at a multiyear high. Considering high volatility of the financial market, this thesis aims to analyze systemic risk in China covering a period from the GFC to COVID-19 pandemic. To have a thorough understanding, this study measures the financial risk from both macro and micro perspective. This study first focuses on financial sector, including banks. insurance companies. securities companies, and other companies that provides financial services. FDG copulas is applied to data of 42 institutions and companies in financial industry throughout the whole sample period. By measuring the dependence coefficients, it is found that dependence is the strongest during the GFC. Securities companies are highly correlated with other companies. Our findings imply that dependence between financial institutions must be taken into consideration in portfolio management. Thus, in the following portfolio management problem, the author uses FDG copulas which are able to simulate data with dependence structure being considered to forecast risk. Our sample data includes stock prices of 47 financial institutions. To provide optimal weighting techniques, this study measures the portfolio risk by Component Expected Shortfall (CES) and put forward four strategies for people with different degrees of risk tolerance. This study also computed the joint extreme risk probability (JERP) and found that the probability of losing money from more than 60% of the asset is over 90% when the market risk is high. Finally, this study measures systemic risk of the entire stock market. Risk contributions of 29 industrial sectors and risk spillover effect are examined. The results show that financial sector contributes the most to systemic risk. From the GFC to the COVID-19 period, Banking sector gradually lost its dominant position to Non-bank-Finance Sector. The COVID-19 pandemic has improved the importance of some industries, such as Computer and Pharmaceuticals. Risk spillover effect is time-varying but its tendency is consistent with that of systemic risk. This thesis proposes the FDG copula-based CES method, which is ideal for risk forecasting when high-dimensional modelling is needed. Our research not only helps investors to better allocate their portfolio, but also help supervision departments to monitor key sectors and the co-movements of systemically important sectors (SISs) and other sectors, thus timely and effective measures could be taken to manage risk.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleSystemic risk measurement in Chinese stock market based on FDG Copulas: from global financial crisis to Covid-19 pandemicen_US
dc.title.alternativeการวัดความเสี่ยงที่เป็นระบบในตลาดหลักทรัพย์จีน โดยใช้คอปูลาแบบ FDG: จากวิกฤติการเงินโลกจนถึงการแพร่ระบาดของโคโรนาไวรัส 2019en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshStock exchanges -- China-
thailis.controlvocab.lcshFinance-
thailis.controlvocab.lcshEconomics-
thailis.controlvocab.lcshCopulas (Mathematical statistics)-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractเมื่อเทียบกับตลาดการเงินส่วนใหญ่ ในประเทศที่พัฒนาแล้วตลาดหลักทรัพย์ของสาธารณรัฐ ประชาชนจีน (ตลาดหลักทรัพย์จีน) ที่มีระยะเวลาตั้งแต่ก่อตั้งจนถึงปัจจุบันเพียง 30 ปี ซึ่งถือว่าเป็น ช่วงเวลาอันสั้น แม้ว่าจะตลาดหลักทรัพย์ดังกล่าวจะมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว แต่ก็ยังไม่เติบโตอย่าง เต็มศักยภาพ และต้องเผชิญกับความท้าทายมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง วิกฤตการเงินโลก ( Global financial crisis : GFC) ในปี พ.ศ. 2551 ได้ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมากต่อตลาดหลักทรัพย์จีน ซึ่ง ในช่วง 10 ปีหลังจากวิกฤตการณ์ดังกล่าว ตลาดหลักทรัพย์จีนประสบกับทั้งภาวะขาขึ้นและขาลงที่ รุนแรงอีกหลายครั้ง อีกทั้งในปี พ.ศ. 2563 การระบาดครั้งใหญ่ของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ส่งผล กระทบต่อตลาดการเงินทั่วโลกอีกครั้ง แต่ตลาดหลักทรัพย์จีนมีมูลค่าเพิ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2564 ถึงร้อย ละ 27 ซึ่งเป็นอัตราที่สูงที่สุดในหลายรอบปีที่ผ่านมา จากความผันผวนที่กล่าวมาข้างต้น วิทยานิพนธ์ ฉบับนี้ได้มุ่งเนั้นกรวิเคราะห์ความเสี่ยงเชิงระบบในกรณีศึกษาของประเทศจีน ซึ่งครอบคลุมช่วง ระยะเวลาตั้งแต่วิกฤตการเงินโลกจนถึงการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อันจะนำมาซึ่ง ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ต่อสถานการณ์ความผันผวน ซึ่งการศึกษานี้ได้ให้แบ่งประเด็นการศึกษา ความผันผวนภายใด้มุมมองของเศรษฐศาสตร์มหภาคและเศรษฐศาสตร์ดุลภาค การศึกษานี้ได้ให้ความสำคัญกับภาคการเงินของจีนเป็นอันดับแรก ภาคการเงินนั้นได้รวมถึง ธนาคาร บริษัทประกันภัย บริษัทหลักทรัพย์ และบริษัทอื่นๆ ที่ให้บริการทางการเงิน การศึกษานี้ได้ ประยุกต์ใช้แนวคิด FDG copulas กับข้อมูลของสถาบันและบริษัท 42 แห่งที่อยู่ในอุตสาหกรรม การเงิน จากการวัดคำสัมประสิทธิ์การขึ้นอยู่กับกันทั้งหลาย (dependency coefficients) พบว่ามีการ ขึ้นอยู่กับกันสูงในช่วงที่เกิดในช่วงวิกฤตการเงินโลก โดยบริษัทหลักทรัพย์ต่างๆ มีความสัมพันธ์กับ บริษัทอื่นๆ ค่อนข้างสูง ผลการวิจัยได้แสดงให้เห็นถึงการขึ้นอยู่กับกันของสถาบันการเงินต่างๆ อีก ทั้งยังบ่งชี้ให้เห็นอย่างชัดเจนว่าผู้ลงทุนควรให้ความความสำคัญกับการจัดกลุ่มหลักทรัพย์ที่ลงทุน (portfolio management) จากที่กล่าวมาข้างต้นที่ได้กล่าวถึงความสำคัญของประเด็นปัญหาการจัดกลุ่มหลักทรัพย์ที่ ลงทุน การศึกษานี้จึงได้อาศัย FDG copulas ซึ่งสามารถจำลองข้อมูลโดยอาศัยโครงสร้างการขึ้นอยู่ กับกันเพื่อพยากรณ์ความเสี่ยง ข้อมูลตัวอย่างประกอบด้วยราคาหลักทรัพย์ของสถาบันการเงินทั้งหมด 47 แห่ง เพื่อให้ได้เทดนิดการชั่งน้ำหนักที่เหมาะสมที่สุดซึ่งเป็นหนึ่งในเป้าหมายสำคัญของ การศึกษาการจัดกลุ่มหลักทรัพย์ที่ลงทุน การศึกษานี้ได้วัดความเสี่ยงของการจัดกลุ่มดังกล่าวโดย อาศัยวิธีการวัดความเสียหายส่วนเกิน (Component Expected Shortfall: CES) และนำเสนอกลยุทธ์ 4 ประการสำหรับผู้ที่มีระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ต่างกัน 4 ระดับ การศึกษานี้ยังได้คำนวณความน่าจะ เป็นที่มีความเสี่ยงสูงร่วมกัน (Joint extreme risk probability : JERP) และพบว่า ในช่วงที่ตลาด การเงินมีความเสี่ยงสูงนั้น มีโอกาสมากกว่าร้อยละ 90 ที่นักลงทุนจะสูญเสียเงินจากสินทรัพย์ลงทุน มากกว่าร้อยละ 60 ของมูลค่าลงทุนทั้งหมด สุดท้ายนี้การศึกษานี้ได้วัดความเสี่ยงอย่างเป็นระบบของตลาดหลักทรัพย์จีน ซึ่งได้อาศัยการ ตรวจสอบการส่งต่อความสี่ยงของตลาดหลักทรัพย์ทั้งหมด 29 ภาคอุตสาหกรรม ผลการวิจัยพบว่า ภาคอุตสาหกรรมการเงินมีส่วนทำให้เกิดความสี่ยงอย่างเป็นระบบมากที่สุด อย่างไรก็ดี จากวิกฤต การเงินโลกจนถึงช่วงการแพร่ระบาคของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โคยผู้ที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงอย่าง เป็นระบบมากที่สุดอย่างภาคการธนาคารในช่วงวิกฤตการเงิน โลกได้สูญเสียบทบาทการเป็นผู้ส่งผ่าน ความเสี่ยงรายสำคัญอย่างค่อยเป็นค่อยไปให้กับภาคที่ไม่ใช่ธนาคารและการเงิน การแพร่ระบาดของ ชื้อไวรัสโคโรนา 20 19 ได้ทำให้บางอุตสาหกรรมมีความสำคัญต่อความเสี่ยงอย่างเป็นระบบมากขึ้น เช่น อุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์และยา จึงสามารถสรุปได้ว่าผลกระทบของความผันผวน (risk spillover effect) นั้นแปรผันมีพลวัต โดยแนวโน้มของการส่งผ่านความเสี่ยงนั้นสอดคล้องกับความ เสี่ยงที่เป็นระบบ วิทยานิพนธ์นี้เสนอวิธีการวัดความเสียหายส่วนเกินภายได้โครงสร้างการขึ้นอยู่กับกันแบบ copulas-based FDG ซึ่งเหมาะสมสำหรับการพยากรณ์ความเสี่ยงในกรณี ที่มีข้อมูลจำนวนมาก การศึกษานี้ไม่เพียงแต่ช่วยให้นักลงทุนจัดสรรการลงทุนในหลักทรัพย์ได้ดีขึ้น แต่ยังช่วยหน่วยงาน ที่กำกับดูแลในการตรวจสอบภาคส่วนที่สำคัญให้ทราบถึงการเคลื่อนไหวร่วมกันของทาง ภาคอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญอย่างเป็นระบบ (systemically important sectors: SISs) และ ภาคอุตสาหกรรมอื่นๆ โดยมาตรการที่เหมาะสมกับบริบทของเวลาและมาตรกรที่มีประสิทธิภาพจะ ช่วยในการบริหารจัดการความเสี่ยงได้ดีen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611655808 CHENG, YANGNAN.pdf8.04 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.