Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77827
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรุ่งฉัตร ชมภูอินไหว-
dc.contributor.authorปฏิพัทธ์ เมืองลือen_US
dc.date.accessioned2022-11-05T09:12:17Z-
dc.date.available2022-11-05T09:12:17Z-
dc.date.issued2564-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77827-
dc.description.abstractThe case study company produces jewelry products for export. One of the problems found in its production lines is product defects. The main objective of this research was then to reduce defective products in the case study company production process using Six Sigma Technique. This research was conducted following 5 steps of DMAIC: Define, Measure, Analyze, Improve and Control. The company is giving prior attention to reduce defective products occurring in the top part item manufacturing process, since it is a process that is produced regularly. The Define step aimed to define the scope of the project using Pareto Chart. It was found that the most frequently encountered product defect was hole type. This research then focused on solving the hole type defect problem in the top part item production line. Next, the objective of the Measure step was to evaluate and understand the current state of the process. Key metrics, e.g. percentage of defective product, were studied for comparison with the results after improvement. In addition, the measurement system was analyzed using Attribute Gage Repeatability and Reproducibility technique. Next, the Analyze step aimed to find the root causes of the problem. Root causes of defective product were determined using Process Mapping, Fish Bone Diagram, and Cause and Effect Matrix. The Improve step was aimed at eliminating the root causes of the problem using Design of Experiment Technique. Full Factorial Design of Experiment with 4 factors, each with 2 levels, was conducted to find factors affecting the occurrence of product defects and appropriate conditions of each factor. The factors studied were burning temperature, number of pieces per mold, metal casting temperature and pressure of metal injection. Finally, in the Control phase, the objective was to maintain the conditions of the improvement. Control chart (p chart) and standard operating procedures were developed and used. In conclusion, the research results were able to reduce the hole type defective products from 7.82% to 1.84%en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการลดผลิตภัณฑ์บกพร่องในกระบวนการผลิตชิ้นส่วนเครื่องประดับโดยใช้เทคนิคซิกส์ซิกม่าen_US
dc.title.alternativeDefective product reduction in jewelry part production using Six Sigma techniqueen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashอุตสาหกรรมเครื่องประดับ-
thailis.controlvocab.thashการควบคุมกระบวนการผลิต-
thailis.controlvocab.thashการควบคุมคุณภาพ -- มาตรฐาน-
thailis.controlvocab.thashซิกซ์ซิกมา (มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractบริษัทกรณีศึกษาทำการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องประดับสำเร็จรูปสำหรับส่งออก ปัญหาหนึ่งที่พบ ในสายการผลิดของบริษัทกรณีศึกษา คือ ข้อบกพร่องในผลิตภัณฑ์ งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อลดผลิตภัณฑ์บกพร่องในกระบวนการผลิตของบริษัทกรณีศึกษาโดยใช้เทคนิคซิกส์ซิกม่า โดยได้ ดำเนินการวิจัยตามหลักการดีเอ็มเอไอซี (DMAIC) ทั้ง 5 ขั้นตอน ได้แก่ การระบุปัญหา (Define) การ วัด (Measure) การวิเคราะห์ (Analyze) การปรับปรุง (Improve) และการควบคุม (Control) บริษัท กรณีศึกษาให้ความสำคัญกับการลดผลิตภัณฑ์บกพร่องที่เกิดในกระบวนการผลิตชิ้นส่วนประเภท ท็อปพาร์ท (Top part) เป็นอันดับแรก เนื่องจากเป็นกระบวนการที่มีการผลิตเป็นปกติ ขั้นตอนการ ระบุปัญหามีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดขอบเขตของงานวิจัยโดยใช้แผนภูมิพาเรโต ซึ่งพบว่าปัญหา ผลิตภัณฑ์บกพร่องประเภทขึ้นงานเป็นรูเกิดขึ้นบ่อยที่สุด งานวิจัยนี้มุ่งเน้นการแก้ปัญหาผลิตภัณฑ์ บกพร่องประเภทขึ้นงานเป็นรูในกระบวนการผลิตชิ้นส่วนประเกทท็อปพาร์ท ต่อมาในขั้นตอนการ วัดมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินและทำความเข้าใจสภาพปัจจุบันของกระบวนการ โดยได้ทำการศึกษา ตัวชี้วัดหลัก เช่น สัดส่วนผลิตภัณฑ์บกพร่อง เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบผลลัพธ์หลังการปรับปรุง นอกจากนี้ได้ทำการวิเคราะห์ระบบการวัดโดยใช้เทคนิคการวิเคราะความสามารถในการทำซ้ำและ ความสามารถในการผลิตช้ำ (Gage Repeatability and Reproducibility) แบบคุณลักษณะ (Attribute) ต่อมาในขั้นตอนการวิเคราะห์มีวัตถุประสงค์เพื่อหาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหาการเกิดปัญหา ผลิตภัณฑ์บกพร่องโดยใช้แผนที่กระบวนการ แผนผังกั้งปลา และตารางเหตุและผล ขั้นตอนการ ปรับปรุงมีวัดถุประสงค์เพื่อกำจัดสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา โดยใช้เทคนิคการออกแบบการทดลอง เชิงแฟคทอเรียลแบบเต็มรูปแบบ โดยมีปัจจัยทั้งหมด 4 ปัจจัย ปัจจัยละ 2 ระดับ เพื่อหาปัจจัยที่มีผลต่อ การเกิดผลิตภัณฑ์บกพร่องและหาเงื่อนไขที่เหมาะสมของแต่ละปัจจัย โดยมีปัจจัยที่ศึกษา ได้แก่ อุณหภูมิในการอบ จำนวนชิ้นงานต่อแม่พิมพ์ อุณหภูมิในการหล่อโลหะ และความดันในการฉีดน้ำ โลหะ สุดท้ายในขั้นตอนควบคุมมีวัดถุประสงค์เพื่อรักษาสภาพการปรับปรุง โดยใช้แผนภูมิควบกุม สัดส่วนผลิตภัณฑ์บกพร่อง (p-chart) และสร้างมาตรฐานในการปฏิบัติงาน ผลการวิจัยสามารถลด ผลิตภัณฑ์บกพร่องประเภทชิ้นงานเป็นรูจาก 7.82% เหลือ 1.84%en_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620631082 ปฏิพัทธ์ เมืองลือ.pdf2.96 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.