Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77817
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพฤกษ์ อักกะรังสี-
dc.contributor.authorรจิตรา ทันตาเร็วen_US
dc.date.accessioned2022-11-05T08:26:59Z-
dc.date.available2022-11-05T08:26:59Z-
dc.date.issued2563-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77817-
dc.description.abstractAir pollution is one of the major problems in northern part of Thailand and neighboring countries especially in the dry season due to widespread of forest fires and open burning of agricultural waste. The main objective of this research is to utilize residue materials by means of slow carbonization and carbon dioxide post treatment processes to increase physical properties aiming to adsorb Hydrogen Sulfide (H2S) in biogas generated from organic waste. Materials focused in this study include Carbonized com cob (C), Carbonized corn cob with CO, treatment (CA), Carbonized Coconut Shell (CO), Carbonized Coconut Shell with CO, treatment (COA), Carbonized Woodchips (B) and Carbonized Woodchips with CO, treatment (BA). All products are set to compare H,S adsorption ability with Activated carbon (AC) in a continuous reactor with H.S loading of 4,3 18.48 gH2S / m3h. The result confirms that AC has the highest efficiency followed by CO, B, COA, C, BA and CA with adsorption capacity of 58.80, 2.33, 1.58, 3.66, 1.84, 5.56 and 1.26 gH2S/gAdsorbent, respectively. According to results of the experiment, the carbonized woodchips had the highest hydrogen sulfide absorption capacity. Additional works in this study includes estimation for small scale livestock biogas system which shows possibility to apply carbonized local residues as commercial activated carbon substitute. However, further works are required in optimizing the process economy of scale and financial feasibility in actual applications.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสามารถในการดูดซับก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ของถ่านชีวภาพที่ผลิตจากชีวมวลเหลือใช้en_US
dc.title.alternativeHydrogen sulfide adsorption capability of biochar produced from residual biomassen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashถ่านชีวภาพ-
thailis.controlvocab.thashชีวมวล-
thailis.controlvocab.thashของเสียทางการเกษตร-
thailis.controlvocab.thashการใช้ของเสียให้เป็นประโยชน์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในปัจจุบันหมอกควันเป็นปัญหาสำคัญในประเทศไทยโดยเฉพาะ อย่างยิ่งทางภาคเหนือ ตอนบนของประเทศไทย โดยทั่วไปปรากฎชัดเจนในช่วงหน้าแล้งของทุกปีที่มีสภาวะอากาศที่แห้ง แล้งประกอบกับการเผาเศษวัสดุจากการเกษตรจึงทำให้เกิดการเผาไหม้ การวิจัยนี้จึงมีวัดถุประสงค์ เพื่อทดสอบความสามารถในการดูดชับของวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ที่ผลิตเป็นถ่านคาร์บอไนซ์ ประกอบด้วยถ่านซังข้าวโพด (C) ถ่านซังข้าวโพดที่เผาภายใต้บรรยากาศก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CA) ถ่านกะลามะพร้าว (CO) ถ่านกะลามะพร้าวที่เผาภายใต้บรรยากาศก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (COA) ถ่านกึ่งไม้ (B) และ ถ่านกิ่งไม้ที่เผาภายใต้บรรยากาศก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (BA) เปรียบเทียบกับความสามารถในการดูดซับก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ของถ่านกัมมันต์ทางการค้า (AC) โดยใช้เครื่องปฏิกรณ์สูง 7 เซนดิเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 1.25 เซนติเมตร เมื่อป้อนก๊าซชีวภาพ ที่อัตราภาระบรรทุกก๊าซไฮโครเจนซัลไฟด์ 4,318.48 gH2S/m3h โดยวิเคราะห์แบบต่อเนื่อง พบว่า AC มีประสิทธิภาพในการกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์สูงสุด รองลงมาคือ CO ประสิทธิภาพในการกำจัด ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ลำดับต่อมาคือ B, COA. C. BA โดย CA มีประสิทธิภาพในการกำจัดก๊าซ ไฮโดรเจนซัลไฟต์เป็นลำดับสุดท้าย และ พบว่ามีจุดอิ่มตัวของถ่าน AC, C, CA, CO, COA, B และ BA ที่ระยะเวลา 1,020, 150, 150, 300, 180 210 และ 120 นาที ตามลำดับ ค่าความสามารถในการดูดซับ ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ต่อปริมาณวัสดุดูดซับของถ่าน ถ่าน AC, C, CA, CO, COA, B และ BA เท่ากับ 58.80, 2.33, 1.58, 3.66, 1.84, 5.56 และ 1.26 gH2S/gAdsorbent ตามลำดับ จากผลการทดลองพบว่า ถ่านกัมมันต์ทางการค้ามีค่าความสามารถในการดูดชับก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์สูงที่สุด และหาก พิจารณาเฉพาะถ่านคาร์บอไนซ์ที่ผลิตเองพบว่า ถ่านกึ่งไม้มีค่าความสามารถในการดูดซับก๊าซ ไฮโดรเจนซัลไฟด์สูงที่สุดเมื่อเทียบกับถ่านคาร์บอไนซ์ชนิดอื่น ๆ จึงเหมาะ ในการนำไปใช้ทดแทน ถ่านกัมมันต์ทางการค้าเมื่อเปรียบเทียบต้นทุนในการดูดซับก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ของถ่านคาร์บอ ไนซ์ที่ผลิตจากผลิตชีวมวลกับถ่านกัมมันต์ทางการค้า จากการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์สำหรับฟาร์ม ปศุสัตว์ขนาดเล็กพบว่ามีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติแต่ยังมีค่าใช้จ่ายในการบำบัดสูงกว่าการใช้ ถ่านกัมมันต์ทางการค้าโดยตรงen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600631124 รจิตรา ทันตาเร็ว.pdf3.59 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.