Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77765
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorBurapha Phajuy-
dc.contributor.authorPaphavin Noodooken_US
dc.date.accessioned2022-10-29T05:47:36Z-
dc.date.available2022-10-29T05:47:36Z-
dc.date.issued2022-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77765-
dc.description.abstractLithium-bearing pegmatites in Takua Thung District, Phang-Nga Province, are one of the lithium-deposit sites in southern Thailand. These pegmatites intruded into sedimentary country rocks near the Khao Po granites, a part of the Western Granitic Belt, and parallel to the Khlong Marui Fault Zone to the northeast trend. Representative samples of lithium-bearing pegmatites and Khao Po granites are studied based on petrography, whole-rock geochemistry, and mineral chemistry of lithium micas in lithium-bearing pegmatites. Lithium-bearing pegmatites are made up of quartz, K-feldspar, and albite with accessory minerals: lepidolite, zinnwaldite, topaz, tourmaline, beryl, apatite, fluorite, microlite, and cassiterite in different proportions. Based on their distinct appearance in studied samples, accessory mineral assemblages can be categorized into six groups, including Groups I, II, III, IV, V, and VI. Group I contains topaz, ± beryl, ± microlite, and ± apatite. Group II consists of tourmaline, ± topaz, ± microlite, and ± apatite. Group III is made up of microlite and ± beryl. Group IV comprises fluorite, ± microlite, and ± apatite. Group V includes beryl, ± microlite, and ± apatite. Group VI consists of topaz, tourmaline, and beryl. In addition, lepidolite, zinnwaldite, and cassiterite are accessory minerals which can be found in all groups. The mineral chemistry of lithium micas is illustrated by the following chemical formulas: lepidolite, K2.0(Li2.4-3.0Al2.3-3.4)(Si6.4-6.7Al1.3-1.6)O20(OH,F)4; and zinnwaldite, K1.7-2.4(Li1.7-2.3Al3.0-4.1)(Si5.8-6.4Al1.6-2.2)O20(OH,F)4. The geochemical analysis indicates that these pegmatites can be classified as the lepidolite-subtype pegmatites or the Li-Cs-Ta (LCT) pegmatites, with peraluminous S-type characteristics derived from partial melting of metasediments. Their emplacement is approximately 2 – 4 kbar and 450 – 650°C. By the difference in SiO2 of whole rocks, they can be grouped into two groups, comprising low SiO2 lithium-bearing pegmatites (LSLP) and high SiO2 lithium-bearing pegmatites (HSLP). Khao Po granites are mainly syenogranite, slightly quartz syenite and monzogranite, divided into two groups by the difference in textures and mineral constituents, including porphyritic granites and non-lepidolite pegmatites. Porphyritic granites contain quartz, plagioclase, orthoclase, microcline, biotite, tourmaline, muscovite, ± garnet, ± zircon, ± rutile, ± apatite, ± opaque minerals, and ± topaz in different proportions. Non-lepidolite pegmatites are made up of quartz, K-feldspars, plagioclase, muscovite, garnet, ± biotite, ± zircon, and ± opaque minerals, and ± allanite in different proportions. Due to the distinct TiO2, Khao Po granites can be divided into two groups, containing low TiO2 Khao Po granites (LTKG) and high TiO2 Khao Po granites (HTGK). Their bulk-rock composition suggests that Khao Po granites are S-type peraluminous granites, derived from partial melting of metapelites and metagreywackes. Although Khao Po granites and lithium-bearing pegmatites have some geochemical characteristics in common, they are not congenitally related to each other, as suggested by the difference in major and trace elements of the bulk rock and their REE patterns. The formation of lithium-bearing pegmatites may possibly be related to other granitic plutons in the Western Granitic Belt or linked to the formation of the Khlong Marui Fault Zone.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectLepidoliteen_US
dc.subjectLithium-bearing pegmatiteen_US
dc.subjectSouthern Thailanden_US
dc.subjectGeochemistryen_US
dc.subjectGraniteen_US
dc.titleMineral chemistry of Lithium micas and geochemistry of Lithium-bearing pegmatites and Khao Po Granites in Western Granitic Belt, Phang-Nga Province, Thailanden_US
dc.title.alternativeเคมีแร่ของลิเทียมไมกาและธรณีเคมีของเพกมาไทต์ที่มีลิเทียมและหินแกรนิตเขาเปาะในแนวหินแกรนิตตะวันตก จังหวัดพังงา ประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshLithium -- Takua Thung (Phang-Nga)-
thailis.controlvocab.lcshSedimentary rocks -- Takua Thung (Phang-Nga)-
thailis.controlvocab.lcshGranite -- Takua Thung (Phang-Nga)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractเพกมาไทต์ที่มีลิเทียม ในอำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา เป็นตัวอย่างหนึ่งของแหล่งลิเทียมบริเวณภาคใต้ของประเทศไทย เพกมาไทต์เหล่านี้แทรกตัวเข้าไปตัดกับหินท้องที่ชนิดหินตะกอนใกล้กับหินแกรนิตเขาเปาะซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแนวหินแกรนิตตะวันตก และมีการวางตัวในทิศตะวันออกเฉียงเหนือขนานกับกลุ่มรอยเลื่อยคลองมะรุ่ย การศึกษาเพกมาไทต์ที่มีลิเทียมและหินแกรนิตเขาเปาะ จะศึกษาจากตัวอย่างที่เป็นตัวแทนของหินทั้งสองชนิด ด้วยวิธีการทางศิลาวรรณนา การศึกษาธรณีเคมีของก้อนตัวอย่างหิน และการศึกษาเคมีแร่ของลิเทียมไมกาที่พบในเพกมาไทต์ที่มีลิเทียม จากการศึกษาพบว่าเพกมาไทต์ที่มีลิเทียม ประกอบด้วย ควอตซ์ โพแทสเซียมเฟลด์สปาร์ แอลไบต์ และแร่รอง ได้แก่ เลพิไลต์ ซินวาลไดต์ โทแพส ทัวร์มาลีน เบริล ฟลูออไรต์ อะพาไทต์ ไมโครไลต์ และแคสซิเทอไรต์ ในสัดส่วนที่แตกต่างกัน โดยกลุ่มแร่รองดังกล่าวสามารถจัดแบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม ตามการมีอยู่ของแร่รองในตัวอย่างที่ศึกษา ได้แก่ กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 และ กลุ่ม 6 กลุ่ม 1 ประกอบด้วย โทแพซ ± เบริล ± ไมโครไลต์ และ ± อะพาไทต์ กลุ่ม 2 ประกอบด้วย ทัวร์มาลีน ± โทแพซ ± ไมโครไลต์ และ ± อะพาไทต์ กลุ่ม 3 ประกอบด้วย ไมโครไลต์ ± เบริล กลุ่ม 4 ประกอบด้วย ฟลูออไรต์ ± ไมโครไลต์ และ ± อะพาไทต์ กลุ่ม 5 ประกอบด้วย เบริล ± ไมโครไลต์ และ ± อะพาไทต์ กลุ่ม 6 ประกอบด้วย โทแพซ ทัวร์มาลีน และเบริล นอกจากนี้ เลพิโดไลต์ ซิลวาลไดต์ และแคสซิเทอไรต์ สามารถพบได้ในกลุ่มของแร่รองทุกกลุ่ม สำหรับองค์ประกอบทางเคมีของลิเทียมไมกาสามารถแสดงในรูปของสูตรเคมีได้ดังนี้ เลพิโดไลต์ K2.0(Li2.4-3.0Al2.3-3.4)(Si6.4-6.7Al1.3-1.6)O20(OH,F)4 และซินวาลไดต์ K1.7-2.4(Li1.7-2.3Al3.0-4.1)(Si5.8-6.4Al1.6-2.2)O20(OH,F)4 จากผลวิเคราะห์ธรณีเคมี บ่งบอกว่าเพกมาไทต์เหล่านี้จัดเป็นเพกมาไทต์ประเภทย่อยชนิดเลพิโดไลต์เพกมาไทต์ หรือลิเทียมซีเซียมแทนทาลัมเพกมาไทต์ (เอลซีทีเพกมาไทต์) อีกทั้งแสดงความเป็นหินเพออะลูมินัสแกรนิตชนิดเอสที่เกิดจากการหลอมบางส่วนของหินตะกอนที่แปรสภาพ เพกมาไทต์ที่มีลิเทียมนี้มีสภาพแวดล้อมการเกิดประมาณความดัน 2 – 4 กิโลบาร์ และอุณหภูมิประมาณ 450 – 650 องศาเซลเซียส และจากความแตกต่างของปริมาณ SiO2 ในก้อนตัวอย่าง สามารถแบ่งเพกมาไทต์นี้ออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่มีปริมาณ SiO2 ต่ำ (LSLP) และกลุ่มที่มีปริมาณ SiO2 สูง (HSLP) หินแกรนิตเขาเปาะ ประกอบด้วย ไซยีโนแกรนิตเป็นส่วนใหญ่ และมีบางส่วนที่เป็นควอตซ์ไซยีไนต์ และมอนโซแกรนิต จากความแตกต่างขององค์ประกอบของแร่และเนื้อหิน ทำให้สามารถแบ่งหินแกรนิตเขาเปาะออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ หินแกรนิตเนื้อดอก และเพกมาไทต์ที่ไม่มีเลพิโดไลต์ ทั้งนี้จากการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของก้อนตัวอย่าง ทำให้สามารถจำแนกหินแกรนิตเขาเปาะออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ หินแกรนิตเขาเปาะที่มีปริมาณ TiO2 ต่ำ (LTKG) และหินเขาแกรนิตที่มีปริมาณ TiO2 สูง (HTKG) นอกจากนี้ผลวิเคราะห์เคมีของก้อนตัวอย่างยังบ่งชี้ว่าหินแกรนิตเขาเปาะเป็นหินเพออะลูมินัสแกรนิตชนิดเอส ที่เกิดจากการหลอมบางส่วนของเมตาเพไลต์และเมตาเกรย์แวก ถึงแม้ว่าหินแกรนิตเขาเปาะและเพกมาไทต์ที่มีลิเทียมจะมีองค์ประกอบทางเคมีที่คล้ายกัน แต่จากหลักฐานของธาตุหลักและธาตุร่องรอยในก้อนตัวอย่าง และรูปแบบของธาตุหายากที่แตกต่างกัน ชี้ให้เห็นว่าหินทั้งสองดังกล่าวไม่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันในเชิงการกำเนิด ทั้งนี้การเกิดของเพกมาไทต์ที่มีลิเทียมอาจจะสัมพันธ์กับหินแกรนิตพลูตอนอื่น ๆ ในแนวหินแกรนิตตะวันตก หรืออาจจะสัมพันธ์กับเกิดขึ้นของกลุ่มรอยเลื่อนคลองมะรุ่ยen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630535904-PAPHAVIN NOODOOK.pdf22.01 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.