Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77762
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPitipong Yodmongkol-
dc.contributor.authorXiaohan Liuen_US
dc.date.accessioned2022-10-29T05:12:23Z-
dc.date.available2022-10-29T05:12:23Z-
dc.date.issued2022-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77762-
dc.description.abstractThis research is a qualitative study to explore how to achieve the educational objectives of Bloom Taxonomy in different teaching environments from the knowledge management perspective. The epidemic outbreak has accelerated the transformation and development of online education; at the same time, the unequal distribution of academic resources has left rural areas unable to fully incorporate technology into the classroom. Technology has increased the effectiveness and productivity of teaching to varying degrees as a teaching tool, bringing new challenges to the educational field. On the other hand, teachers have various teaching styles and preferences. As a result, teachers are in four different teaching environments: low-tech teacher-centered, low-tech student-centered, high-tech teacher-centered, and high-tech student-centered. Therefore, this study aims to create a step-by-step guideline to achieve Bloom Taxonomy objectives in four different environments. Knowledge identification, knowledge capture, knowledge representation, and knowledge validation are all included in this study. It emphasizes the transformation and transfer of tacit information to explicit knowledge, defined as the "know-what" and "know-how" of teaching tools and techniques. Structured interview and qualitative analysis approaches were applied in this research. The purposive sampling method was adopted in the data collection stage, including 17 expert teachers from 11 different faculties of Chiang Mai University who have won the teaching award in the last three years. Moreover, the teach back method is adopted to increase the convergence and credibility of this study. The results present that teacher use teaching tools and techniques to help students achieve different Bloom Taxonomy objectives in different teaching environments. In addition, knowledge maps are adopted to reorganize and represent the research results, providing a more precise blueprint for teachers and readers. This research contributes to the university's teaching practice and provides guidance for using teaching tools and techniques to progressively achieve the Bloom Taxonomy objectives in different teaching environments. This study brings new vigor and vitality into academic research on teaching environment, teaching methods, Bloom Taxonomy, and knowledge management. Moreover, the research offers a guideline for the whole teaching process, from identifying and setting teaching objectives, planning and implementing teaching activities, to evaluating teaching objectives and improving teaching activities planning and execution. It is beneficial to assist teachers in different teaching environments to use teaching tools and techniques to achieve Bloom Taxonomy objectives so as to improve teaching quality and productivity.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleA Step-by-step guideline teaching methods to achieve bloom taxonomy objectivesen_US
dc.title.alternativeคู่มือวิธีการสอนแบบเป็นขั้นเป็นตอนเพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์อนุกรมวิธานของบลูมen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.lcshKnowledge management-
thailis.controlvocab.lcshLesson planning-
thailis.controlvocab.lcshEducational innovations-
thailis.controlvocab.lcshEducational technology-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพที่สำรวจว่าบรรลุวัตถุประสงค์อนุกรมวิธานของบลูม สามารถทำได้ในบริบทการสอนที่แตกต่างกันอย่างไรจากมุมมองการจัดการความรู้ การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อได้เร่งการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาของการเรียนการสอนออนไลน์ ในเวลาเดียวกัน การกระจายทรัพยากรทางวิชาการที่ไม่สม่ำเสมอทำให้สถานที่การศึกษาที่อยู่ในชนบทไม่สามารถนำ เทคโนโลยีเข้ากับชั้นเรียนได้อย่างเต็มที่ เทคโนโลยีจะเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการเรียนการสอน ซึ่งได้เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการเรียนการสอนของระดับชั้นเรียนต่างๆ และทำให้เกิด ความท้าทายใหม่ขึ้นในอาณาจักรแห่งการศึกษา ในอีกด้านหนึ่ง ครูผู้สอนมีรูปแบบการสอนที่หลาก หลาย ดังนั้น ครูผู้สอนจึงถูกจัดให้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นสี่ ประเภทดังนี้: เทคโนโลยีล้าหลังที่เน้นผู้สอนเป็นหลัก เทคโนโลยีล้าหลังที่เน้นผู้เรียนเป็นหลัก เทคโนโลยีก้าวหน้าที่เน้นผู้สอนเป็นหลัก และเทคโนโลยีก้าวหน้าที่เน้นผู้เรียนเป็นหลัก ดังนั้น การวิจัยครั้งนี้จึงมุ่งสร้างแนวทางทีละขั้นตอนเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์อนุกรมวิธานของบลูมใน สภาพแวดล้อมดังกล่าวที่แตกต่างกัน การบ่งชี้ความรู้ การจับและเก็บความรู้ การแทนค่าความรู้ และการตรวจสอบความรู้ ล้วนรวมอยู่ในการวิจัยนี้ มันได้เน้นการเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนข้อมูลโดยปริยายไปสู่ความรู้ ที่ชัดเจน และถูกกำหนดให้เป็น"รู้อะไร" และ "รู้อย่างไร"สำหรับเครื่องมือและเทคนิคในการเรียน การสอน การวิจัยครั้งนี้ได้ใช้การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง และวิธีการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ ในขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูลได้ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบมีจุดมุ่งหมาย กลุ่มตัวอย่างจะมี อาจารย์ที่เป็นผู้เชี่ยวชาญ 17 ท่าน ซึ่งมาจาก 11 คณะที่แตกต่างกันของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และได้รับรางวัลการสอนในช่วงเวลา 3 ปีที่ผ่านมา นอกจากนี้ การใช้วิธีการเทคนิคสอนกลับเพื่อ เพิ่มความน่าเชื่อถือของงานวิจัยนี้ ผลการวิจัยพบว่าครูผู้สอนใช้เครื่องมือและเทคนิค ในการสอน เพื่อช่วยให้ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์อนุกรมวิธานของบลูมที่แตกต่างกันในสภาพแวดล้อมต่างๆ นอกจากนี้ กราฟความรู้ยังใช้เพื่อจัดระเบียบใหม่และแสดงผลการวิจัย เพื่อให้ครูผู้สอน และผู้ที่สนใจ มีพิมพ์เขียวที่แม่นยำยิ่งขึ้น การวิจัยครั้งนี้จะมีส่วนช่วยแก่อาจารย์ในการสอนระดับอุดมศึกษา และให้แนะทางในการใช้ เครื่องมือและเทคนิคในการสอนเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์อนุกรมวิธานของบลูมในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน งานวิจัยนี้ได้เติมพลังใหม่ลงในการวิจัยเชิงวิชาการเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมการเรียน การสอน วิธีการสอน อนุกรมวิธานของบลูม การจัดการความรู้ และด้านอื่นๆ นอกจากนี้ การวิจัย ครั้งนี้ได้ให้แนวทางสำหรับทั้งกระบวนการการเรียนการสอน ตั้งแต่การระบุและการกำหนด วัตถุประสงค์การเรียนการสอน การวางแผนการเรียนการสอน และการดำเนินกิจกรรม การเรียน การสอน ไปจนถึงการประเมินผลการเรียนการสอน และการพัฒนาแผนการเรียนการสอน และ การดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการช่วยให้อาจารย์ในสภาพแวดล้อม ที่แตกต่างกันได้ใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีการเรียนการสอน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์อนุกรมวิธานของบลูม ซึ่งจะช่วยปรับปรุงคุณภาพและประสิทธิภาพของการเรียนการสอนได้en_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
632132024- Xiaohan Liu.pdf6 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.