Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74238
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทศพล ทรรศนกุลพันธ์-
dc.contributor.authorวรินทรา ศรีวิชัยen_US
dc.date.accessioned2022-10-15T09:12:49Z-
dc.date.available2022-10-15T09:12:49Z-
dc.date.issued2564-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74238-
dc.description.abstractThis article aims to study problems and limitations of digital forensics in criminal procedure of crimes against national security and elucidates the special characteristics of digital evidence as well as rules regarding the admissibility of evidence in a criminal trial by applying a variety of different sources, from the most recent articles, books, research papers, and in-depth interviews with scholars who involve in digital forensics. This research found that in criminal cases, that relate to digital evidence, especially, crimes against national security, which state is the plaintiff, demonstrate injustice performed on defendants, for example, the limitation to access and gather digital evidence and rights of defendants in crimes against national security, including the hearing and the preponderance of digital evidence. This research suggests that in every step of criminal procedure for digital forensic management, particularly, investigation process, the inquiry process, gathering of digital evidence, and the digital evidential hearing should have clear standards of conduct and practice to meet international standards and should give an opportunity of participation to other potential agencies in digital evidence forensics. Furthermore, there should be laws or guarantees that create standards for forensics, that lead to bringing justice to every party in the criminal justice process.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการตรวจพิสูจน์พยานหลักฐานดิจิทัล กรณีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาหมวดคดีความมั่นคงen_US
dc.title.alternativeDigital forensics : study of offences relating to the security of the kingdomen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการพิสูจน์หลักฐาน-
thailis.controlvocab.thashพยานหลักฐานคดีอาญา-
thailis.controlvocab.thashกระบวนการยุติธรรมทางอาญา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยชิ้นนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและข้อจำกัดของการตรวจพิสูจน์ พยานหลักฐานดิจิทัลในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในคดีความผิดเกี่ยวกับความมั่นคง และอธิบาย เกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของพยานหลักฐานดิจิทัล ตลอดจนแนวทางการรับฟังพยานหลักฐานดิจิทัลใน คดีอาญา โดยใช้วิธีการศึกษาจากเอกสาร ตำรา งานวิจัยและการลงพื้นที่สัมภาษณ์เชิงลึกจาก นักวิชาการ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการตรวจพิสูจน์พยานหลักฐานดิจิทัล จากการศึกษาพบว่า ในคดีอาญาที่เกี่ยวข้องกับพยานหลักฐานดิจิทัล โคยเฉพาะในคดีความ มั่นคงที่รัฐเป็นผู้ฟ้องคดี พบว่ามีประเด็นความไม่เป็นธรรมเกิดขึ้นกับผู้ถูกกล่าวหา เช่น ข้อจำกัดใน การเข้าถึงและการรวบรวมพยานหลักฐานดิจิทัล และประเด็นสิทธิของผู้ถูกกล่าวหาในคดีความมั่นคง ตลอดจนการรับฟังและการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐานดิจิทัลของศาล เป็นต้น ข้อเสนอแนะจากการศึกษาในครั้งนี้ กล่าวคือ ในทุกขั้นตอนของกระบวนการยุดิธรรมทาง อาญาในการจัดการพยานหลักฐานดิจิทัล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในขั้นตอนการสืบสวน สอบสวน การ รวบรวมพยานหลักฐานดิจิทัล ตลอดจนการรับฟังพยานหลักฐานดิจิทัล ควรมีแนวทาง มาตรฐานการ ปฏิบัติที่ชัดเจนและสอดคล้องกับมาตรฐานสากล อีกทั้งควรมีกฎหมายหรือหลักประกันที่เป็น มาตรฐานในการตรวจพิสูจน์พยานหลักฐาน ซึ่งนำไปสู่การสร้างความเป็นธรรมให้กับทุกฝ่ายใน กระบวนการยุติธรรมทางอาญาen_US
Appears in Collections:LAW: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
592032011 วรินทรา ศรีวิชัย.pdf2 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.