Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74235
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนัทมน คงเจริญ-
dc.contributor.authorนพพรรษ ศิริen_US
dc.date.accessioned2022-10-15T09:08:20Z-
dc.date.available2022-10-15T09:08:20Z-
dc.date.issued2564-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74235-
dc.description.abstractThe main objectives of this study are (1) to study comparative law between the General Data Protection Regulation and the Personal Data Protection Act. B.E. 2562 (2) to study documents both abroad and in Thailand related to the exercise of rights of the biometric data subject by analyzing the standard of provisions, essential aspects, and recommendations on the protection of biometric data subject right in Thailand. The comparative study of two provisions shows that the rules regarding the rights of the biometric data subject in the Personal Data Protection Act B.E. 2562 were similar to those in the General Data Protection Regulation. However, at the same time, it empowers the Personal Data Protection Committee to amend those rules for each particular right. Therefore, the criteria will depend mainly on the concept and direction of the Personal Data Protection Committee. When analyzing the criteria, it was found that the data control potency of Thailand's biometric data subject depends on the knowledge of the data subject, the rules of the committee, the exceptions to the rights of other persons, and inequality in complaints. There are specific contexts where the biometric data subject may not enforce their data as needed. In addition to protecting the rights of the biometric data subject in Thailand, the authority and court have to provide an explanation, interpretation, and weighing and lay the rules exhaustively which to provide a standard equivalent to the general data protection regulations and the benefit of the protecting the rights of the biometric data subject.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการคุ้มครองสิทธิของเจ้าของข้อมูลทางชีวภาพในการเก็บรวบรวมข้อมูลในภาคเอกชนen_US
dc.title.alternativeThe Right of biometric data subject on data collection protection in private sectoren_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการป้องกันข้อมูล-
thailis.controlvocab.thashพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักคือ (1) ศึกษากฎหมายเปรียบเทียบระหว่างระเบียบการ คุ้มครองข้อมูลทั่วไป (General Data Protection Regulation) และ พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วน บุคคล พ.ศ.2562 (Personal Data Protection Act) (2) ศึกษาเอกสารทั้งต่างประเทศและในประเทศไทย ที่เกี่ยวข้องกับการใช้สิทธิของเจ้าของข้อมูลทางชีวภาพ โดยมุ่งวิเคราะห์ถึงมาตรฐานของบทบัญญัติ ข้อสังเกตที่สำคัญ และข้อเสนอแนะในการคุ้มครองข้อมูลทางชีวภาพของประเทศไทย ผลการศึกษาเปรียบเทียบบทบัญญัติทั้งสอง พบว่า หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวกับสิทธิของเจ้าของข้อมูล ทางชีวภาพในพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลมีความคล้ายคลึงกับหลักเกณฑ์ในระเบียบ การคุ้มครองข้อมูลทั่วไป แต่ในขณะเดียวกันได้ให้อำนาจคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลใน การแก้ไขเพิ่มเติมหลักเกณฑ์ในแต่ละสิทธิได้ ดังนั้นมาตรฐานของหลักเกณฑ์จึงขึ้นอยู่กับแนวคิดและ ทิศทางของคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคกลดังกล่าวเป็นสำคัญ ซึ่งเมื่อวิเคราะห์หลักเกณฑ์ แล้ว พบว่า อำนาจในการควบคุมข้อมูลของเจ้าของข้อมูลทางชีวภาพของประเทศไทยนั้นขึ้นอยู่กับทั้ง การรับรู้ของเจ้าของข้อมูล การวางหลักเกณฑ์ของคณะกรรมการ ข้อยกเว้นด้านสิทธิของบุคคลอื่น และความไม่เท่ากันในการร้องเรียน ทำให้มีบางบริบทที่เจ้าของข้อมูลทางชีวภาพอาจไม่สามารถ บังคับข้อมูลของตนได้อย่างตามต้องการ นอกจากนั้นในการคุ้มครองสิทธิของเจ้าของข้อมูลทาง ชีวภาพของประเทศไทย หน่วยงานที่มีอำนาจและศาลที่มีหน้าที่ตัดสินจะต้องมีการอธิบายความ การ ตีความและการชั่งน้ำหนัก และการวางหลักคำตัดสินที่ละเอียดถี่ถ้วนเพื่อให้มีมาตรฐานเทียบเท่า ระเบียบการคุ้มครองข้อมูลทั่วไปและประโยชน์ในการคุ้มครองสิทธิของเจ้าของข้อมูลทางชีวภาพen_US
Appears in Collections:LAW: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
592032005 นพพรรษ ศิริ.pdf1.95 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.