Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74234
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทศพล ทรรศนกุลพันธ์-
dc.contributor.authorจิรประภา ฉิมเรืองen_US
dc.date.accessioned2022-10-15T09:06:54Z-
dc.date.available2022-10-15T09:06:54Z-
dc.date.issued2564-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74234-
dc.description.abstractThe objectives of this study were to study the problem of using the justice system as a political tool that is contrary to the legitimacy of the rule of law by luring computer-related offenses. This research aimed to know the problem condition, law, criteria, conceptual process, and theories used about criminal prosecution against political activists including guidelines on evidence obtained from enticing the offender from documents, textbooks, analyzing provisions, judgment liens, and relevant laws also the principle of the protection against criminal prosecution and visit the area to interview relevant officials and academics. Thailand currently uses social media as a tool for political expression whether distributing information, attitude expression, and participation in city activities. This has led to concerns about the state's inability to control political expression in such social media. The study found the interesting point that the state has chosen to use the judicial process by luring crimes to obtain evidence in criminal proceedings against political activists by using distinctive authority to order which is against the law to be under control and to enter the criminal justice process. The Recommendations from this research, in Thai's criminal justice system, there is no law on the lure of wrongdoing and examine the authority who illegally seeks evidence. Therefore, there should be an approach to amend the principle of prohibiting wrongful hearing of evidence, a principle that prohibits hearing, namely amending the provisions of the Criminal Procedure Section 226, by applying the exceptions provided in Section 226/1 mutatis mutandis. The exclusion of witnesses is strictly used in the consideration and requires the court to use the discretion by law and limiting the scope of authority of government officials to perform their duties within the legal framework.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการดำเนินคดีอาญาต่อนักกิจกรรมทางการเมืองด้วยวิธีล่อให้กระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์en_US
dc.title.alternativeCriminal prosecution of political activists by means of enticing computer-related crimesen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการล่อให้กระทำความผิด (กฎหมายอาญา)-
thailis.controlvocab.thashกระบวนการยุติธรรมทางอาญา-
thailis.controlvocab.thashกระบวนการยุติธรรม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการใช้กระบวนการยุติธรรมเป็น เครื่องมือทางการเมืองที่ขัดต่อหลักความชอบด้วยกระบวนการนิติธรรมโดยใช้วิธีการในการล่อให้ กระทำความผิดที่เกี่ขวข้องกับคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทราบถึงสภาพปัญหา กฎหมาย หลักเกณฑ์ กระบวนการแนวคิด ตลอดจนทฤยฎีที่ใช้ในการรับฟังพยานหลักฐานเกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญา ต่อนักกิจกรรมทางการเมืองด้วยวิธีล่อให้กระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ รวมทั้งแนวทางเกี่ยวกับ พยานหลักฐานที่ได้มาจากการล่อให้กระทำความผิด โคยใช้วิธีการศึกษาจากเอกสาร ตำรา วิเคราะห์ บทบัญญัติ แนวคำพิพากษา กฎหมายที่เกี่ยวข้อง หลักให้ความคุ้มครองการคำเนินคดีทางอาญา และลง พื้นที่สัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง นักวิชาการ ในปัจจุบัน ประเทศไทยมีการใช้สื่อสังคมออนไลน์เป็นเครื่องมือในการแสดงออกทาง การเมือง ไม่ว่าจะเป็นการกระจายข้อมูล การแสดงออกทางทัศนคติ การเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรม ทางเมือง นำมาซึ่งความกังวลของรัฐที่ไม่สามารถควบคุมการแสดงออกทางการเมืองในสื่อสังคม ออนไลน์ดังกล่าวได้ จากการศึกษา พบประเด็นที่น่าสนใจ คือ รัฐเลือกใช้วิธีการค้านกระบวนการยุติธรรมโดยการ ล่อให้กระทำความผิดเพื่อได้มาซึ่งพยานหลักฐานในการดำเนินคดีทางอาญาต่อนักกิจกรรมทางเมือง มี การใช้อำนาจพิเศษในการออกคำสั่ง ซึ่งเป็นวิธีการ ที่ขัดต่อกฎหมายภายใต้การควบคุมผ่าน กระบวนการยุติธรรมทางอาญา การศึกษาวิจัยครั้งนี้ พบว่า ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทยยังไม่มีกฎหมายที่ ชัดเจนเกี่ยวกับการล่อให้กระทำความผิด ไม่มีกฎหมายที่ตรวจสอบการทำงานของเจ้าหน้าที่รั ฐที่ แสวงหาพยานหลักฐานโดยมิชอบ ผู้เขียนเห็นว่าควรมีแนวทางการแก้ไขหลักการห้ามรับฟัง พยานหลักฐานโดยมิชอบเป็นหลักการที่ห้ามรับฟังอย่างเด็ดขาด คือ แก้ไขบทบัญญัติประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 226 โดยให้นำช้อยกเว้นที่บัญญัติในมาตรา 226/1 มาใช้โดย อนุโลม มีการนำบทตัดพยานมาใช้อย่างเด็ดขาดในการพิจารณา กำหนดให้ศาลใช้ดุลพินิจอย่างมี ขอบเขตตามกฎหมาย และจำกัดขอบเขตอำนาจหน้าที่ของเจ้าหน้าที่รัฐให้ปฏิบัติหน้าที่อยู่ภายใน กรอบของกฎหมายen_US
Appears in Collections:LAW: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
592032002 จิรประภา ฉิมเรือง.pdf2.4 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.