Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74224
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรวรรณ บุญญวรรณ-
dc.contributor.advisorอุดมรัตน์ ทิพวรรณ-
dc.contributor.advisorเสวต อินทรศิริ-
dc.contributor.authorชัยพิพัฒน์ แพ่งเกษรen_US
dc.date.accessioned2022-10-15T08:22:50Z-
dc.date.available2022-10-15T08:22:50Z-
dc.date.issued2564-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74224-
dc.description.abstractLow-cost gemstones treatment for the better quality and increasing market price has been interested since high-cost gemstones are currently rare. Nowadays, gemstones have been improved to be better quality by many treatment processes such as heat, irradiation, dyeing, diffusion, oil filling, assembly, cavity filling, coating, and bleaching. In this thesis, we study and investigate a nitrogen microwave plasma machine for treatment 4 types of gemstones including Rubellite, Aquamarine, Emerald and Tanzanite. The nitrogen plasma was introduced by nitrogen gas stimulated via using microwave. For the plasma characterization, the nitrogen plasma is pink-orange color. The temperature of tested material at the center of plasma was approximately around 400-420 C and the temperature decreases when the distance further from the plasma center. For the gemstone treatment by the nitrogen plasma, the color intensity of Rubellite decreased and turn to be naturally lighter pink while the optimal pressure of the system was set at 1.1 torr. The same behavior was also presented in Aquamarine and Tanzanite. The color tends to reduce light yellow and become to light bluish purple after Aquamarine and Tanzanite was treated by the nitrogen plasma, respectively. Meanwhile, the nitrogen plasma cannot affect to color of Emerald due to it was still naturally green color after plasma treatment. Overall, the gemstone treatment by using the nitrogen plasma is an alternative process which can change the intensive color of gemstones from dark color to lighter color.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการสร้างและการหาลักษณะเฉพาะของเครื่องไนโตรเจนไมโครเวฟ พลาสมาสำหรับปรับปรุงคุณภาพหินอัญมณีen_US
dc.title.alternativeConstruction and characterization of microwave Nitrogen Plasma machine for gemstones treatmenten_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashอัญมณี-
thailis.controlvocab.thashพลอย-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการปรับปรุงคุณภาพอัญมณีหรือพลอยที่มีมูลค่าต่ำให้มีมูลค่าที่สูงขึ้น เป็นสิ่งที่น่าสนใจ เนื่องจากอัญมณีหรือพลอยที่มีคุณภาพสูงมีจำนวนที่ลดลง ปัจจุบันการปรับปรุงคุณภาพอัญมณีนั้นทำ ได้หลายวิธี เช่น การให้ความร้อน การฉายรังสี การย้อมสี การซ่านสี การแช่นำมัน การปะ การอุด การ เคลือบสีและการฟอกสี เป็นต้น ในงานวิจัยนี้ ได้ทำการศึกษาการปรับปรุงคุณภาพพลอยสี่ชนิด ได้แก่ พลอยรูเบลไลต์ พลอยอะความารีน พลอยมรกต และพลอยแทนซาไนต์ ด้วยเครื่องไนโตรเจน ไมโครเวฟพลาสมา โดยในโตรเจนพลาสมาถูกสร้างโดยการกระตุ้นแก๊สไนโตรเจนด้วยคลื่นในย่าน ไมโคร การจากศึกษาลักษณะของไนโตรเจนพลาสมา พบว่าพลาสมาเรืองแสงสีส้มอมชมพู และเมื่อ ทำการทดสอบวัดอุณหภูมิของวัสดุทดสอบ พบว่าวัสดุทดสอบมีอุณหภูมิอยู่ระหว่าง 400 ถึง 420 องศา เซลเซียส กระจายรอบๆ ณ ตำแหน่งศูนย์กลางของพลาสมา และอุณภูมิลดลงเมื่อระยะห่างจาก พลาสมาเพิ่มขึ้น จากการศึกษาการบำบัดพลอยรูเบลไลต์ด้วยไนโตรเจนพลาสมา พบว่าความเข้มสี ของพลอยรูเบลไลต์ลดลง และสีอ่อนลง อีกทั้งยังคงสี โดยธรรมชาติของพลอย เมื่อใช้ความดันภายใน ระบบอยู่ที่ 1.1 ทอร์ เมื่อทำการบำบัดพลอยอะความารีนและพลอยแทนซาไนต์ด้วยในโตรเจน พลาสมา พบว่าความเข้มสีของพลอยลดลงเล็กน้อย มีแนวโน้มสีเหลืองลดลงและมีแนวโน้ม เปลี่ยนเป็นสีม่วงอมฟ้า ตามลำดับ ขณะที่การบำบัดพลอยมรกตไนโตรเจนพลาสมา ไม่แสดงผลการ เปลี่ยนแปลงทางกาพภาพของพลอยมรกต พลอยมรกตยังคงแสดงสีเขียวโดยธรรมชาติเหมือนเดิม ไม่ มีแนวโน้มการเปลี่ยนสีและการดูดกลืนแสง จะเห็นได้ว่าการบำบัดพลอยด้วยเครื่องไนโตรเจน ไมโครเวฟพลาสมา สามารถเปลี่ยนพลอยสีเข้มเป็นพลอยสีอ่อนได้en_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590531107 ชัยพิพัฒน์ แพ่งเกษร.pdf6.87 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.