Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74219
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอริยา เศวตามร์-
dc.contributor.advisorไพบูลย์ เฮงสุวรรณ-
dc.contributor.authorกัชกร ทวีศรีen_US
dc.date.accessioned2022-10-15T08:13:23Z-
dc.date.available2022-10-15T08:13:23Z-
dc.date.issued2564-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74219-
dc.description.abstractThe goal of this study was to look into gender stigma and disability among disabled women. Also, look into the process of empowering women with disabilities to participate in society. By applying a semi-structured interview method, the researcher's experience as a woman with disabilities and the experiences of 11 women with disabilities who were socially involved were studied using a qualitative research method, a case study approach in the study of perception, experience, and meaning. According to the findings, the stigma surrounds women with disabilities influenced the backgrounds and experiences of the 11 women with disabilities in the case studies. Gender and disability have a lot in common. Other factors such as class, age, occupation, education, economic and social standing contributed to the perception of women with impairments as worthless and incompetent. There is no qualification of being a wife, mother, and should not be married. It occurs regularly through various social institutions, such as family, religion, medical, educational, and workplace organizations. It has resulted in the stigmatization of disabled women in varied ways, including using separate identifications based on their physical appearance. The raising awareness of the negative consequences of handicap concerning the concepts of sin, separation, rejection, and exclusion from other groups making them "others" or uncommon in society. However, women with disabilities who go through the procedure empowering social involvement, which leads to self-worth, do not perceive disability or femininity as a barrier. Part of the empowerment process comes from an outside organization, an organization with disabilities formed through shared experience in the stigma of disability and gender. To establish a process that supports participation and includes decision- making at every phase, understand the uniqueness of women with disabilities. The operation opened (Safe space, shared experience area) in the empowerment processing, enhancing the likelihood of involvement, improving self-esteem, and granting or reinstating some rights that infringed. It discovered that women from all backgrounds responded positively to various empowerment techniques to overcome stigma and exclusion.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการตีตราและกระบวนการเสริมพลังให้แก่ผู้หญิงพิการen_US
dc.title.alternativeStigmatization and empowerment process for women with disabilityen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashสตรีพิการ-
thailis.controlvocab.thashคนพิการ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการตีตราความเป็นเพศและความพิการของผู้หญิงพิการ และ เพื่อศึกษากระบวนการในการเสริมความเข้มแข็งผู้หญิงพิการในการมีส่วนร่วมทางสังคม โดยใช้ วิธีการวิจัยในเชิงคุณภาพแนวการศึกษากรณีศึกษา ในการศึกษาการรับรู้ประสบการณ์และการให้ ความหมาย ทั้งประสบการณ์ของผู้วิจัยในฐานะผู้หญิงพิการและประสบการณ์ของผู้หญิงพิการที่มี ส่วนร่วมทางสังคม จำนวนทั้งหมด 11 คน ด้วยวิธีการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง จากผลการวิจัยพบว่าภูมิหลังและประสบการณ์ของผู้หญิงพิการที่เป็นกรณีศึกษาทั้ง 11 คน มีผล มาจากการตีตราผู้หญิงพิการ ซึ่งมีความซ้อนทับระหว่างเพศภาวะและความพิการ (ความพิการแต่ กำเนิดพิการที่หลัง) และมิติอื่นๆ ได้แก่ ชนชั้น อายุ อาชีพ การศึกษา สถานภาพทางเศรษฐกิจ สถานะ ทางสังคม ทำให้ผู้หญิงพิการถูกมองว่าเป็นบุคคลไร้ค่าและไร้ความสามารถ ไม่มีคุณสมบัติของการ เป็นเมีย เป็นแม่ และ ไม่ควรมีชีวิตคู่ ซึ่งถูกประกอบสร้างขึ้นอย่างเป็นระบบผ่านสถาบันต่าง ๆ ทาง สังคม ไม่ว่าจะเป็นครอบครัว ศาสนา การแพทย์ การศึกษา และในสถานที่ทำงาน ก่อให้เกิดการตีตรา ผู้หญิงพิการในรูปแบบต่าง ๆ ได้แก่ ติดป้ายด้วยการบ่งชี้ด้วยคำเรียกจากลักษณะทางกายภาพที่เห็นได้ การสร้างการรับรู้ถึงสาเหตุแห่งความพิการในด้านลบโดยเชื่อมโยงกับแนวคิดเรื่องบาปกรรม การถูก แบ่งแยก ไม่ได้รับการยอมรับ และถูกกีดกันจากกลุ่มอื่นๆ ทำให้กลายเป็น "คนอื่น" หรือผิดแปลกไม่ ปกติในสังคม อย่างไรก็ตาม ผู้หญิงพิการที่ผ่านกระบวนการในการเสริมพลังการมีส่วนร่วมทางสังคม ทำให้เกิดความมั่นใจในคุณค่าของตนเอง ไม่เห็นความพิการและความเป็นหญิงเป็นขีดจำกัด กระบวนการเสริมพลังส่วนหนึ่งมาจากองค์กรภายนอกซึ่งเป็นองค์กรคนพิการที่ก่อตั้งมาจากการเคยมี ประสบการณ์ร่วมในด้านการตีตราความพิการและความเป็นเพศ เข้าใจความหลากหลายในความเป็น ผู้หญิงพิการ ต่อการสร้างกระบวนการที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมที่ครอบคลุมตัดสินใจในทุกขั้นตอน ใน กระบวนการเสริมพลังเป็นการเปิดพื้นที่ (พื้นที่ปลอดภัย พื้นที่ในการแชร์ประสบการณ์ร่วม) การเพิ่ม โอกาสในการเข้าร่วม การสร้างให้เกิดความภูมิใจในตนเอง (Self-esteem) ให้สิทธิ์หรือคืนสิทธิ์ บางอย่างที่ถูกละเมิด ซึ่งพบว่าผู้หญิงที่มีภูมิหลังต่างกันตอบสนองกับกระบวนการเสริมพลังที่แตกต่าง กัน ในการหลุดออกจากการตีตราและการถูกกีดกันen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590431028 กัชกร ทวีศรี.pdf5.21 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.