Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74216
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนีย์ เงินยวง-
dc.contributor.authorพัชรียา กาติ๊บen_US
dc.date.accessioned2022-10-15T08:08:31Z-
dc.date.available2022-10-15T08:08:31Z-
dc.date.issued2564-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74216-
dc.description.abstractThe purposes of this research 1) To develop and construct of the measurement model of Factors Affecting Work Adjustment Teacher in Chiang Mai Primary Educational Service Area Office. 2) To study and compare the level of adaptive ability in teachers' work in Chiang Mai Primary Educational Service Area Office. 3) To study factors affecting the Factors Affecting Work Adjustment Teacher in Chiang Mai Primary Educational Service Area Office. The research samples were 1,136 teachers who were teacher in 100 schools in Chiang Mai Primary Educational Service Area Office. The research samples were obtained from Multi-Stage Random Sampling. The research instrument was the questionnaire (mcasures) with 5 levels of practice level rating scale 52 questions and 5 levels of practice level rating scale and 24 questions. The discrimination value was between 0.475 - 0.922. The reliability value was between 0.949. The data analysis that had been used was the descriptive statistics, Exploratory Factor Analysis (EFA), Second-order Confirmatory Factor Analysis (2" CFA) The purposes of this research to develop and construct of the measurement model of Factors Affecting Work Adjustment Teacher and compare the level of adaptive ability in teachers' work used ANOVA, intelligence analysis by Multiple Regression Analysis. Conflict Multiple Correlation Cocfficient (R), Multiple Correlation Coefficient (R2) and Stepwise Multiple Regression The results of the study were as follows: 1. The measurement model of Factors Affecting Work Adjustment Teacher in Chiang Mai Primary Educational Service Area Office revealed 3 factors and 24 indicators. The factors 1 is "Teaching Efficiency" with 8 indicators. The factors 2 is "Tasks which is bencficial to students" with 8 indicators and The factors 3 is ''Tasks which is beneficial to school and community"' with 8 indicators. The weight of each indicators in first-order CFA was positive with statistical significance at the level of .01 and all indicators were measurable. 2. The results of study and comparison of factors Affecting Work Adjustment of Teacher in Chiang Mai Primary Educational Service Area Office for Tasks other than teaching was high level. 1) The results of the analysis of the level of factors affecting work adjustment at the highest level is Tasks which is bencficial to students, 2nd is Tasks which is beneficial to students. 2) Comparison results work adjustment Teacher in Chiang Mai Primary Educational Service Area Office with gender, teaching experience, marital status, educational position does not affect factors affecting work adjustment teacher. But school location affect the Tasks which is beneficial to students and Tasks which is beneficial to school and community with statistical at the level of 0.05. And other functional elements that are beneficial to schools and communities in terms of working in teaching Teachers in rural areas and flat areas have the same ability to adapt to work. 3. Study result of correlation between predictors were positive correlation value was between 0.019 -0.715 community with statistical at the level of .01. In searching for result of good predictors for prediction the factors affecting work adjustment, Self Efficacy, Habit of highly effective, Conscientiousness, working together, and attitude towards school. Prediction cquations were as follows: Unstandardized Estimation Equation : Y1 = .707 + .215HAB+ .180SEL + .128CON + .121ATT .201WOR Standardized Estimation Equation : Z1y = .452 HAB + .713SEL + .422CON + .216ATT + .307WORen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถในการปรับตัวในการทำงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeFactors affecting work adjustment of teacher in Chiang Mai Primary Educational Service Area Officeen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashครูประถมศึกษา-- ภาระงาน-
thailis.controlvocab.thashครู-- ภาระงาน-
thailis.controlvocab.thashการศึกษาขั้นประถม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ ประการที่ 1 เพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้และสร้าง เครื่องมือวัดความสามารถในการปรับตัวในการทำงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ ประการที่ 2 เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบระดับความสามารถในการ ปรับตัวในการทำงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ และ ประการที่ 3 เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถในการปรับตัวในการทำงานของครู สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกยา จังหวัดเชียงใหม่จำนวน 1,136 คน ได้จากการสุ่มแบบหลาย ขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยเครื่องมือ 2 ฉบับ คือ 1) แบบสอบถามปัจจัยที่มี ส่งผลต่อความสามารถในการปรับตัวในการทำงานของครู เป็นชนิดมาตรประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 52 ข้อ และ 2) แบบวัดความสามารถในการปรับตัวในการทำงานของครูเป็นชนิดมาตร ประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 24 ข้อ ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาโดยหาก่า IOC มีค่า 0.6 - 1.00 มีค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ 0.475 - 0.922 และมีค่าความเชื่อมั่น ( α ) เท่ากับ 0.949 การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยประกอบด้วย การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory Factor Analysis : EFA) การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis: CFA) เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลกับข้อมูลเชิงประจักษ์ เพื่อเป็นการยืนยัน ตัวบ่งชี้และองค์ประกอบของโมเดลการวัดความสามารถในการปรับตัวในการทำงานของครู การ วิเคราะห์และเปรียบเทียบความสามารถในการปรับตัวในการทำงานของครูใช้ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเยี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (Onc - way ANOVA) และ วิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการปรับตัวในการทำงานของครู โดยการวิเคราะห์ การถดถอยพหุคูณ (Multiple Rcgression Analysis) เพื่อหาสมการทำนายความสามารถในการ ปรับตัวในการทำงานของครู โดยพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ (R) สัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์พยากรณ์ (R2) และการถดถอยพหุคูณแบบ Stepwise สรุปผลการวิจัย 1. ผลพัฒนาตัวบ่งชี้และสร้างเครื่องมือวัดความสามารถในการปรับตัวในการทำงานของ ครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ พบว่าได้ 3 องค์ประกอบและ 24 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 1 เรียกว่า "การทำงานด้านการสอนที่ดี" ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ 8 ข้อ องค์ประกอบที่ 2 เรียกว่า "การทำงานอื่นที่เป็นประโยชน์กับนักเรียน" ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ 8 ข้อ องค์ประกอบที่ 3 เรียกว่า "การทำงานอื่นที่เป็นประโยชน์กับโรงเรียน และชุมชน" ประกอบด้วยตัว บ่งชี้ 8 ข้อ และเมื่อพิจารณาองค์ประกอบลำดับที่ 1 พบว่า ตัวบ่งขี้ทุกตัวในองค์ประกอบมีน้ำหนัก องค์ประกอบที่ต่างจากศูนย์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และได้นำมาสร้างแบบวัค ความสามารถในการปรับตัวในการทำงาน ของครู สั่งกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ มีลักษณะแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 จำนวน 24 ข้อ มีค่า IOC เท่ากับ 0.60 - 1.00 มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .949 และมีค่าอำนาจจำแนก เท่ากับ 0.475 - 0.922 2. ผลการศึกษาและเปรียบเทียบความสามารถในการปรับตัวในการทำงานของครู สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกยาจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า 1) ผลการวิเคราะห์ระดับ ความสามารถในการปรับตัวในการทำงานของครูในภาพรวมครูมีคะแนนเฉลี่ยระดับความสามารถ ในการปรับตัวในการทำงานอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายองค์ประกอบ ครูมีคะแนนเฉลี่ย ในการทำงานอื่นที่เป็นประโยชน์กับนักเรียน (Tasks which is beneficial to students) สูงที่สุด รองลงมา คือ การทำงานด้านการสอนที่ดี (Teaching Eficiency) และการทำงานอื่นที่เป็นประโยชน์ กับนักเรียน (Tasks which is beneficial to students) ตามลำดับ 2) ความสามารถในการปรับตัว ในการทำงานของครูสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ เมื่อทำการ เปรียบเทียบจำแนกตามเพศ ประสบการณ์สอน สถานภาพทางครอบครัว และตำแหน่งทางการ ศึกษา พบว่าไม่มีความแตกต่างกันทั้งภาพรวม และทั้งรายองค์ประกอบ มีเพียงที่ตั้งของโรงเรียนที่ มีผลทำให้ครูในพื้นที่กันดารและพื้นที่ราบ มีความสามารถในการปรับตัวในการทำงานต่างกันทั้ง ภาพรวมและองค์ประกอบด้านการทำงานอื่นที่เป็นประโยชน์กับนักเรียน และองค์ประกอบด้านการ ทำงานอื่นที่เป็นประโยชน์กับโรงเรียนและชุมชน โดยด้านการทำงานด้านการสอนที่ดี ครูในพื้นที่ กันคารและพื้นที่ราบมีความสามารถในการปรับตัวในการทำงาน ไม่ต่างกัน 3. ปัจจัยที่มีส่งผลต่อความสามารถในการปรับตัวในการทำงานของครู สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ ที่จำแนกตามที่ตั้งของโรงเรียน มีรายละเอียดดังนี้ 1) การรับรู้ความสามารถของตนเองในการทำงาน (SEL) 2) ลักษณะนิสัยของบุคคลที่มีประสิทธิภาพ (HAB) 3) บุคลิกภาพแบบมีจิตสำนึก (CON) 1) การปฏิบัติงานร่วมกัน (WOR) และ 5) ทัศนคติที่มี ต่อโรงเรียน (ATT) สามารถเขียนเป็นสมการพยากรณ์ความสามารถในการปรับตัวในการทำงาน ของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ ในรูปของคะแนนดิบและ คะแนนมาตรฐานได้ ดังนี้ สมการพยากรณ์ความสามารถในการปรับตัวในการทำงานของครูในรูปคะแนนดิบ Y1 = .707 + .215HAB+ .180SEL + .128CON + .121ATT .201WOR สมการพยากรณ์ความสามารถในการปรับตัวในการทำงานของครูในรูปคะแนนมาตรฐาน Z1y = .452 HAB + .713SEL + .422CON + .216ATT + .307WORen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590232010 พัชรียา กาติ๊บ.pdf2.96 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.