Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74204
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูโชค อายุพงศ์-
dc.contributor.authorปุณยวีร์ ประดงจงเนตรen_US
dc.date.accessioned2022-10-15T07:42:22Z-
dc.date.available2022-10-15T07:42:22Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74204-
dc.description.abstractDevelopment of the drainage management system for urban areas with stream blockage problems in the Kok river basin did by collecting information about the causes and issues of stream blockage in the river and roads that obstructed the stream with specific locations. The statistical hydrological data were determined the peak discharge including the Intensity- Duration-Frequency (IDF) curves for each of the districts in the Kok river basin and the regional flood frequency analysis. The concept designs concluded from the statistical hydrological analysis were used for solving the problems of stream blockage. The results showed 69 locations with stream blockage problems, 22% of natural causes and 78% of human causes.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาระบบจัดการการระบายน้ำสำหรับพื้นที่ชุมชนเมืองที่มีปัญหาการกีดขวางทางน้ำในลุ่มน้ำกกen_US
dc.title.alternativeDevelopment of drainage management system for urban areas with stream blockage problems in Kok River basinen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการระบายน้ำ-
thailis.controlvocab.thashการจัดการน้ำ-
thailis.controlvocab.thashลุ่มน้ำกก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการพัฒนาระบบจัดการการระบายน้ำสำหรับพื้นที่ชุมชนเมืองที่มีปัญหาการกีดขวางทางน้ำในลุ่มน้ำกก ทำโดยการเก็บข้อมูลรายละเอียดของ สาเหตุและสภาพปัญหาจากการกีดขวางทางน้ำในลำน้ำคูคลองและถนน ที่กีดขวางทางน้ำพร้อมระบุพิกัดและประเมินระดับความเสี่ยงของแต่ละตำแหน่ง และทำการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้านอุทกวิทยา ที่ใช้เป็นข้อมูลสำคัญในการหาปริมาณน้ำหลากสูงสุด ได้แก่ สร้างกราฟและสมการความสัมพันธ์ของความเข้มฝน ช่วงเวลาที่ฝนตก และความถี่การเกิด (Intensity – duration – frequency curves) สําหรับพื้นที่แต่ละอําเภอในลุ่มน้ำกก และวิเคราะห์ด้วยหลักความถี่การเกิดโดยพิจารณาทั้งลุ่มน้ำรวม (Regional flood frequency analysis) แล้วนำข้อมูลต่างๆมาวางแนวคิดออกแบบเบื้องต้นการแก้ปัญหา ให้เหมาะสมกับสภาพทางกายภาพของการกีดขวางทางน้ำ โดยผลลัพธ์ที่ได้เป็นแนวคิดและวิธีการเบื้องต้นในการแก้ไขปัญหาการกีดขวางทางน้ำ ที่เกิดขึ้นในแต่ละแห่งของพื้นที่ชุมชนเมืองในลุ่มน้ำกก ซึ่งมีตำแหน่งที่มีปัญหาการกีดขวางทางน้ำมีทั้งหมด 69 จุดที่มีระดับความเสี่ยงต่างๆกัน โดยมีสาเหตุของการกีดขวางทางน้ำที่เกิดจากธรรมชาติคิดเป็นร้อยละ 22 และสาเหตุที่เกิดจากมนุษย์คิดเป็นร้อยละ 78en_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Drainage management system.pdf54 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.