Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74164
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPrasit Wangpakapattanawong-
dc.contributor.advisorSutthathorn Chairuangsri-
dc.contributor.advisorAngkhana Inta-
dc.contributor.authorThatchakorn Khamkhunmuangen_US
dc.date.accessioned2022-10-01T03:54:48Z-
dc.date.available2022-10-01T03:54:48Z-
dc.date.issued2021-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74164-
dc.description.abstractClimate change is expected to affect highland smallholder farmers with poor and limited resources. For the case study of Ban Tub and Pang Hin Fon sub-districts, Mae Chaem district, Chiang Mai province, the objectives were to assess food security, climate change vulnerability, and emission of CO2 of highland agricultural systems and to design and assess a Climate-Smart Agriculture system supporting food security, climate resilience, and CO2 emission reduction. Participatory Rural Appraisal (PRA) of communities and ethnic groups was done. There were key informant interviews with 2- 3 persons per village and focus group discussion in the topics; theory and timeline of village, food security assessment, risk and vulnerability, indicator development, design and assessment of CSA about shifting cultivation with 120 persons and semi-structure interviews of 196 smallholders farming houses. The results showed that 49.50% of the food was plants, and 59.25% of the income was from selling plants. Ban Muad Long had the most food and income from crop production. As for Mae Kee Muk Noi, the villagers had the most access to food sources from the market because the distance was the closest than the other villages. Ban Mae Hae Tai had better food stability from the forest than the other villages. From the risk and vulnerability analysis, it was found that agriculture posed the highest risk up to 30 %, within which 25 % was from low productivity. For the risk on the low productivity, the villagers thought that they could rarely cope, as low as 5%, which could lead to loss of produce and incomes, which in turn lead to food insecurity. In the land preparation plots, the greenhouse gases emission in upland rice cultivation were 4.23 scores (out of 5, agree) in the Karen and 3.18 scores (out of 5, undecided) in the Lawa. Moreover, all of the villages used chemicals that are unnecessary leading to increase of greenhouse gases in the future. For the results of indicators development, it was found that there were 9 topics, 27 indicative components, and 76 indicators, and 14 actions plans were designed. Then, an assessment into a shifting cultivation system in the future was done. Under climate change and the current community context, appropriate ecological services and biodiversity were suggested from some action plans that might have long-term effects on food production and food security.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleAssessing the potential of climate-smart agriculture to improve food security and climate-change resilience of highlandin Northern Thailanden_US
dc.title.alternativeการประเมินศักยภาพของการเกษตรที่เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเพื่อเพิ่มความมั่นคงทางอาหารและความยืดหยุ่นต่อการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของที่สูงในภาคเหนือของประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshFood security -- Thailand-
thailis.controlvocab.lcshFood security -- Climatic factors -- Thailand-
thailis.controlvocab.lcshAgriculture -- Thailand-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลต่อระบการเกษตรและนำไปสู่ความไม่มั่นคงทางอาหาร โดยเฉพาระกลุ่มเกษตรกรรายย่อยในประเทศกำลังพัฒนา การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาและประเมินประเด็นของความมั่นคงทางอาหารของเกษตรกรกึ่งยังชีพในระบบเกษตรบนพื้นที่สูง เพื่อออกแบบแนวทางในการทำการเกษตรบนพื้นที่สูงให้มีศักยภาพในการเพิ่มความมั่นคงทางอาหาร และประเมินแนวทางความสามารถในการรับมือต่อความเสี่ยงในอนาคตที่ส่งผลต่อความมั่นคงทางอาหารภายใต้บริบทของระบบสังคมนิเวศและการบริการของระบบนิเวศ โดยใช้การวิเคราะห์ชุมชนแบบมีส่วนร่วมคือ การสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มบุคลลสำคัญจำนวน 2-3 คนต่อหมู่บ้าน การจัดประชุมกลุ่ม การพัฒนาตัวชี้วัด การออกแบบสอบถาม การออกแบบแผนพัฒนา และการประเมินระบบเกษตรที่เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเข้าสู่ไร่หมุนเวียน ร่วมกับตัวแทนหมู่บ้านๆ ละ 30 คน รวม 120 คน และการสัมภาษณ์ครัวเรือนเกษตรกรจำนวน 196 ครัวเรือน ผลการศึกษาพบว่า การมีของอาหารจากการผลิตเอง เป็นแหล่งอาหาร ร้อยละ 49.50 และเป็นแหล่งรายได้ร้อยละ 59.25 บ้านมืดหลองมีอาหารและรายได้จากการผลิตพืชมากที่สุด ส่วนบ้านแม่ขี้มูกน้อยมีการเข้าถึงแหล่งอาหารจากตลาดได้มากที่สุด เพราะมีระยะทางที่ใกล้กว่าชุมชนอื่นๆ ชุมชนบ้านแม่แฮใต้มีเสถียรภาพของอาหารดีกว่าชุมชนอื่นๆ เพราะมีการจัดการดูแลป่าและหาอาหารป่ามากที่สุด ประกอบกับมีการผลิตพืชและปศุสัตว์ และการนำเข้าอาหารจากภายนอกเฉลี่ยแล้วมีความสมดุลมากกว่าชุมชนอื่นๆ ความเสี่ยงและความเปราะบางพบว่า ด้านเกษตรกรรมมีค่ามากที่สุดถึงร้อยละ 30 ของความเสี่ยงอื่นๆ ทั้งหมด ปัจจัยที่ส่งผลมากที่สุดคือผลผลิตตกต่ำ ร้อยละ 25 ผลกระทบที่ได้รับจากภัยธรรมชาติที่สามารถรับมือได้เพียงร้อยละ 5 ซึ่งปัจจุบันยังไม่สามารถมีวิธีการรับมือได้ จึงนำไปสู่การสูญเสียผลผลิตและขาดทุนและความไม่มั่นคงทางอาหาร การเตรียมพื้นที่เพาะปลูก การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์ เท่ากับ 4.23 คะแนน (เห็นด้วย) ในกะเหรี่ยง และ 3.18 คะแนน (ไม่แน่ใจ) ในละว้า ผลการพัฒนาตัวชี้วัดความมั่นคงทางอาหารพบว่า ได้ 9 ประเด็น 27 องค์ประกอบตัวชี้วัด และ7 ตัวชี้วัด ซึ่งนำไปสู่ผลของการออกแบบแผนพัฒนาและแนวทางทั้งหมด 76 แผน และประเมินเข้าสู่ระบบเกษตรแบบไร่หมุนเวียนได้ 14 แผนปฏิบัติ การทำการเกษตรที่เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและบริบทชุมชน รวมถึงผลกระทบระยะยาวที่อาจจะส่งผลต่อการผลิตอาหาร ความมั่นคงทางอาหาร การบริการของระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืนen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580551017 ทัชชกร คำคุณเมือง.pdf5.03 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.