Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74126
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยวัฒน์ นิ่มอนุสสรณ์กุล-
dc.contributor.advisorนฉัตร์ฑพงษ์ แก้วสมพงษ์-
dc.contributor.authorเทพสิริรัตน์ ศรีวรกุลen_US
dc.date.accessioned2022-09-21T10:28:44Z-
dc.date.available2022-09-21T10:28:44Z-
dc.date.issued2022-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74126-
dc.description.abstractThe aims of this independent study are to analyze the optimal size of data to calculate the weight of assets in a portfolio and to be able to apply the appropriate data for investors who would like to manage their own investment portfolio. By studying historical securities data from the Stock Exchange of Thailand database between November 3, 2017, and March 28, 2019, it includes 19 securities to be used for calculating the weight of each investment. Securities include the expected returns and risks for investing in 3 months, 6 months, and 12 months. To come up with the appropriate timing and amount of information that investors should use to make investment decisions. The results indicated that the optimal size of data to calculate the weight of assets in a portfolio is 250 days of data. This amount of data will result in the highest average expected return with the highest risk or volatility that can be accepted. As for the investment period, it is determined that a duration of 6 months is ideal for the investment period based on the weight of the assets in the asset group. It is found that at 6 months, the average expected return is the highest with some risk or volatility. Hence, the same amount of data was used over the course of 30 days but at various times. The rate of return and the risks are thus varied. Same with the size of data that analyzed by increasing amount of data at the same period, for 12 evenly spaced periods of 20 times. The rates of return and risk are varied and inconsistent. An investor may need to compute the current data set for comparison if they are computing the weighted return. According to this analysis, there was insufficient information to determine the weight of the securities in the group.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleขนาดของข้อมูลที่เหมาะสมในการคำนวณน้ำหนักของหลักทรัพย์ในกลุ่มหลักทรัพย์en_US
dc.title.alternativeThe Optimal size of data to calculate the weight of assets in portfolioen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashหลักทรัพย์ -- การวิเคราะห์-
thailis.controlvocab.thashหลักทรัพย์ -- การลงทุน-
thailis.controlvocab.thashการวิเคราะห์การลงทุน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ขนาดของข้อมูลที่เหมาะสมในการคำนวณน้ำหนักของหลักทรัพย์ในกลุ่มหลักทรัพย์ และสามารถนำขนาดข้อมูลที่เหมาะสมไปใช้ในการจัดพอร์ตการลงทุนของตนเองได้ โดยศึกษาข้อมูลหลักทรัพย์จากฐานข้อมูลในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยระหว่างวันที่ 03 พฤศจิกายน พ.ศ.2560 จนถึง 28 มีนาคม พ.ศ.2562 เป็นข้อมูลรายวัน รวมหลักทรัพย์ 19 หลักทรัพย์ มาใช้ในการคำนวณหาน้ำหนักในการลงทุนของแต่ละหลักทรัพย์ รวมถึงผลตอบแทนที่คาดหวังและความเสี่ยง สำหรับนำไปลงทุนตามระยะเวลา 3 เดือน 6 เดือน และ 12 เดือน เพื่อนำมาหาระยะเวลา และขนาดจำนวนข้อมูลที่เหมาะสมที่นักลงทุนควรใช้เพื่อตัดสินใจในการลงทุน โดยผลการศึกษาพบว่าขนาดของข้อมูลที่เหมาะสมสำหรับนักลงทุนในการคำนวณน้ำหนักของหลักทรัพย์ในกลุ่มหลักทรัพย์ คือขนาดของข้อมูลจำนวน 250 วัน ซึ่งเมื่อนำมาคำนวณหาน้ำหนักแล้วจะทำให้ได้ผลตอบแทนคาดหวังที่สูงสุด และยอมรับความเสี่ยงหรือความผันผวนสูงสุดได้ ส่วนระยะเวลาการลงทุนจากการคำนวณน้ำหนักของหลักทรัพย์ในกลุ่มหลักทรัพย์ จะพบว่าการลงทุนในระยะเวลา 6 เดือน จะได้ผลตอบแทนคาดหวังที่สูงสุด รวมถึงมีความเสี่ยงหรือความผันผวนบ้าง ทั้งนี้หากวิเคราะห์โดยใช้ขนาดของข้อมูลจำนวน 30 วันเหมือนกัน แต่คนละช่วงเวลา จะทำให้ได้อัตราผลตอบแทนกับความเสี่ยงที่แตกต่างกัน รวมถึงการใช้ขนาดของข้อมูลจำนวนวันที่เพิ่มขึ้นในช่วงเท่ากันรวม 12 ช่วง จำนวน 20 ครั้ง จะทำให้อัตราผลตอบแทนกับความเสี่ยงที่ได้แตกต่างกัน และมีความเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทำให้ผลการศึกษาไม่มีความสอดคล้องกัน หากนักลงทุนจะคำนวณค่าน้ำหนักโดยใช้วิธีการคำนวณหาน้ำหนักจากการศึกษานี้ควรใช้ข้อมูลหลักทรัพย์อัพเดท ณ ปัจจุบันมาคำนวณหาน้ำหนักเปรียบเทียบ ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้ ขนาดของข้อมูลที่เหมาะสมในการคำนวณหาน้ำหนักของหลักทรัพย์ในกลุ่มหลักทรัพย์ไม่สามารถกำหนดได้en_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601632015-Thepsirirat Srivorakul.pdf601632015-Thepsirirat Srivorakul2.73 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.