Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74121
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSomwang Kaewsufong-
dc.contributor.advisorCharin Mangkhang-
dc.contributor.advisorJarunee Dibyamandala-
dc.contributor.authorChawalit Kodsirien_US
dc.date.accessioned2022-09-21T01:06:21Z-
dc.date.available2022-09-21T01:06:21Z-
dc.date.issued2022-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74121-
dc.description.abstractThe objectives of the research entitled “A philosophy of ageing learning model for a happy life in the context of Thai society”, were divided into two phases: Phase 1: To synthesize and design learning activities based on a philosophy of ageing for a happy life in the context of Thai society; the target group consisted of eight key informants, six casual informants, and six general informants; instruments used were an unstructured interview form, and a diary form, data were analyzed by content analysis and thematically analysis. Phase 2: To construct a learning model based on a philosophy of ageing for a happy life in the context of Thai society, key informants consisted of nine experts selected by purposive sampling, instruments used were a draft model and an evaluation form, data were analyzed by mean and standard deviation. The research results were as follows: Phase 1: Results of the synthesizing of the learning activities based on a philosophy of ageing for a happy life in the context of Thai society were the community areas were selected for research, consisting of the communities that had systematic, obvious teaching and learning management models for the elderly, were co-development networks, and it was located in the community health care center; had uncleared models of health care for the elderly; did not have a clear system. The results of designing consisted of four aspects of physical development, moral development, mental development, and intellectual development, 4 relationships, four details of developing dimensions, 5 standards, and 6 indicators in learning activities based on a philosophy of ageing learning model for a happy life in the context of Thai society. Phase 2: The learning model based on a philosophy of ageing for a happy life in the context of Thai society consisted of POCO&A+L(PAORS). The details were: a principle (P), an objective (O), conditions for achievement (C), operations and activities (O&A), plus learning processes based on a philosophy of ageing for a happy life in the context of Thai society consisted of planning (P), action (A), organizing (O), reflection (R), and sustainability (S). The suitability of the learning model based on a philosophy of ageing for a happy life in the context of Thai society was overall at the highest level (Mean = 4.76, S.D. = 0.38). The possibility of the learning model for a happy life in the context of Thai society was at the highest level (Mean = 4.68, S.D. = 0.58). Keywords: A philosophy of ageing, learning model, a happy life, Thai societyen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleA Philosophy of ageing learning model for a happy life in the context of thai societyen_US
dc.title.alternativeรูปแบบการเรียนรู้ตามปรัชญาผู้สูงอายุเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในบริบทสังคมไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshOlder people-
thailis.controlvocab.lcshOlder people -- Conduct of life-
thailis.controlvocab.lcshOlder people -- Education-
thailis.controlvocab.lcshLearning-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยเรื่อง รูปแบบการเรียนรู้ตามปรัชญาผู้สูงอายุเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีความสุข ในบริบทสังคมไทย มีวัตถุประสงค์การวิจัย คือ ระยะที่ 1 สังเคราะห์และออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตามปรัชญาผู้สูงอายุเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในบริบทสังคมไทย กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย ผู้รู้จำนวน 8 คน ผู้ปฏิบัติ จำนวน 6 คน และผู้ให้ข้อมูลทั่วไป จำนวน 6 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง และแบบบันทึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์ตามเนื้อหา ระยะที่ 2 เพื่อสร้างรูปแบบการเรียนรู้ตามปรัชญาผู้สูงอายุเพื่อการดำรงชีวิตอย่าง มีความสุขในบริบทสังคมไทย ผู้ให้ข้อมูลหลัก ประกอบด้วย จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 9 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบร่างรูปแบบ แบบประเมินผลความเหมาะสมและความเป็นไปได้ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากการวิจัย พบว่า ระยะที่ 1 ผลการสังเคราะห์กิจกรรมการเรียนรู้ตามปรัชญาผู้สูงอายุเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในบริบทสังคมไทย พบว่า มีชุมชนที่มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนผู้สูงอายุอย่างเป็นระบบ ชัดเจน และมีเครือข่ายร่วมพัฒนา และเป็นที่ตั้งของศูนย์สุขภาพชุมชน ชุมชนที่มีรูปแบบการดูแลผู้สูงอายุที่ยังไม่เป็นระบบชัดเจน และชุมชนที่มีรูปแบบการดูแลผู้สูงอายุ ที่ยังไม่เป็นระบบ ชัดเจน และออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตามปรัชญาผู้สูงอายุเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในบริบทสังคมไทย ประกอบด้วย มิติ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านกายภาวนา ด้านศีลภาวนา ด้านจิตภาวนา และด้านปัญญาภาวนา 4 ความสัมพันธ์ 4 มิติการพัฒนา 5 มาตรฐาน และ 6 ตัวบ่งชี้ในกิจกรรมการเรียนรู้ตามปรัชญาผู้สูงอายุเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในบริบทสังคมไทย ระยะที่ 2 รูปแบบการเรียนรู้ตามปรัชญาผู้สูงอายุเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในบริบทสังคมไทย ประกอบด้วย POCO&A+L(PAORS) โดยมีรายละเอียดดังนี้ หลักการ (P) วัตถุประสงค์ (O) เงื่อนไขความสำเร็จ (C) การดำเนินงานและกิจกรรม (O&A) และกระบวนการเรียนรู้ตามปรัชญาผู้สูงอายุเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในบริบทสังคมไทย ได้แก่ การวางแผน (P) การดำเนินการ (A) การจัดระเบียบ (O) การสะท้อนกลับ (R) และความยั่งยืน (S) การประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการเรียนรู้ตามปรัชญาผู้สูงอายุเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในบริบทสังคมไทย อยู่ในระดับสูงสุด (ค่าเฉลี่ย = 4.76, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.38) และความเป็นไปได้ของรูปแบบการเรียนรู้ตามปรัชญาผู้สูงอายุเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในบริบทสังคมไทย อยู่ในระดับสูงสุด (ค่าเฉลี่ย = 4.68, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.58).en_US
Appears in Collections:EDU: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.