Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74069
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChayan Vaddhanaphuti-
dc.contributor.advisorMalee Sitthikriengkrai-
dc.contributor.authorMichael Keating DeLoachen_US
dc.date.accessioned2022-09-01T17:23:45Z-
dc.date.available2022-09-01T17:23:45Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74069-
dc.description.abstractSince the first upstream dam was completed on the Mekong River 25 years ago, Chiang Khong's riparian communities in Northern Thailand have been on the frontline of the ecological changes affecting the entire river. The commodification of the Mekong into its use for electricity and as a corridor of trade has dispossessed riparian communities from access to the river's natural resources. This study explores the many dimensions of this dispossession in the case of the Tai Lue riparian village of Had Bai in Chiang Khong. In the face of this loss of natural resources, a network has coalesced around the local conservation group Rak Chiang Khong to campaign against the rapids blasting of the Thai-Laos stretch of the Mekong River that are central to plans for the river's navigability development. This conservation movement have been successful in articulating the looming social and ecological effects and stemming this further development. Chiang Khong's grassroots movement to preserve their local environment occurs at the intersection of a macro and micro phenomenon. At the macro-level, the growing regional influence of China and changing nature of the Mekong that has accompanied this rise provides the larger context for the significance of this movement. Dam construction and navigability development of the Mekong are part of much broader changes that are reshaping the geographic, political, and economic landscape of mainland Southeast Asia. The concept of hydro-hegemony, dominance over a river basin, captures this macro phenomenon. At the micro-level, the local network of Chiang Khong's riparian villagers has found their voice through localism, emphasizing the salience and significance of local identity and ecology. Imbued with a sense of agency and empowered through the capability of capturing and articulating local knowledge, the grassroots movement has been effective to-date in their campaign to prevent the local rapids blasting and is now expanding to include all of Thailand's Mekong communities in the hopes of giving locals a voice at the policy-level. Based on interviews with NGO members, villagers of Had Bai, and locals from Chiang Khong's other riparian communities, this study explores the intersection of these phenomena, discussing the geopolitical and environmental significance of one community's campaign to preserve their local ecologyen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleHedging Hydro-Hegemony: dispossession along the Mekong & agency through localismen_US
dc.title.alternativeการจำกัดอานาจเหนือแม่น้ำ: การยึดทรัพย์ตามแม่น้ำโขงและศักยภาพผ่านความเป็นท้องถิ่นen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshWaterfronts-
thailis.controlvocab.lcshEthnic groups-
thailis.controlvocab.lcshLü (Asian people)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractตั้งแต่มีการสร้างเขื่อนแห่งแรกทางตอนบนแม่น้ำโขงเมื่อ 25 ปีก่อน ได้ส่งผลกระทบต่อทุกภาค ส่วนของแม่น้ำทั้งการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศและชุมชนริมฝั่ง ดังจะเห็นได้จากชุมชนริมฝั่ง อำเภอเชียงของภาคเหนือของประเทศไทย แม่น้ำโขงได้ถูกทำให้กลายเป็นสินค้าเพื่อใช้ผลิตไฟฟ้าและ เป็นช่องทางการค้า ทำให้ชุมชนต่าง ๆ ที่พึ่งพิงและอาศัยอยู่ในลุ่มน้ำโขง ไม่สามารถเข้าถึง ทรัพยากรธรรมชาติของแม่น้ำได้ วิทยานิพนธ์นี้มุ่งสำรวจมิติต่าง ๆ ของการแย่งยึดทรัพยากรแม่น้ำ โขงจากชุมชนท้องถิ่น โดยใช้กรณีศึกษาคือ หมู่บ้านหาดบ้าย ซึ่งเป็นชุมชนชาติพันธุ์ไทลื้อ ขณะที่ชุมชนกำลังเผชิญกับการสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติ ได้ก่อให้เกิดการรวมตัวกันของ เครือข่ายกลุ่มอนุรักษ์ท้องถิ่น "รักษ์เชียงของ" เพื่อรณรงค์ต่อด้านการระเบิดแก่ง ซึ่งการระเบิดแก่งนั้น เป็นส่วนหนึ่งของแผนการพัฒนาการเดินเรือของแม่น้ำในพื้นที่ของแม่น้ำโขงไทย - ลาว ซึ่งการ เคลื่อนไหวนี้ได้อธิบายผลกระทบทางสังคมและระบบนิเวสที่อาจเกิดขึ้นแก่สังคมและผู้กำหนด นโยบาย จนนำไปสู่ความสำเร็จ ทำให้ยุติการพัฒนาด้วยการระเบิดแก่ง ในการเคลื่อนไหวระดับรากหญ้าของกลุ่มรักษ์เชียงของเพื่อรักษาสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น เกิดขึ้นระหว่างปรากฎการณ์มหภาคและจุลภาค ในระดับมหภาคนั้นเนื่องจากอิทธิพลที่เพิ่มมากขึ้น ของจีนและการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศในแม่น้ำโขง ทำให้ความสำคัญของการเคลื่อนไหวนี้มี บริบทที่กว้างขึ้น การสร้างเขื่อนและการพัฒนาการเดินเรือในแม่น้ำโขงเป็นส่วนหนึ่งที่กำลัง เปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ทางภูมิศาสตร์ การเมือง และเศรษฐกิจของคาบสมุทรอินโดจีน ซึ่งผู้ศึกษานำ แนวคิดเรื่องอำนาจเหนือลุ่มแม่น้ำอธิบายปรากฎการณ์มหภาคนี้ ในระดับจุลภาค เครือข่ายท้องถิ่นของชาวบ้านที่อาศัยอยู่ริมฝั่งแม่น้ำได้ใช้เสียงของพวกเขา บอกเล่าโดยเน้นย้ำถึงสำนึกท้องถิ่น อัตลักษณ์ และระบบนิเวศในท้องถิ่น สิ่งเหล่านี้คือ การเป็น ผู้กระทำการ (agency) ของท้องถิ่น ที่ผสมผสานกับการเสริมพลังท้องถิ่น การเพิ่มขีดความสามารถใน การรวบรวมและถ่ายทอดความรู้ในท้องถิ่น ผลจากการเคลื่อนไหวระดับรากหญ้านั้นสามารถป้องกัน การระเบิดแก่งในพื้นที่ และก่อให้เกิดการขยายตัวของชุมชนริมฝั่งโขงหรือ "เสียง" จากท้องถิ่นไปสู่ ระดับนโยบาย อันเป็นความหวังหนึ่งของชุมชน ข้อมูลทั้งหมดนี้ได้จากการสัมภาษณ์สมาชิกองค์กร พัฒนาเอกชน ชาวบ้านหาดบ้ายและชาวบ้านจากชุมชนริมฝั่งแม่น้ำอื่น ๆ บริเวณอำเภอเชียงของ กรณี บ้านหาดบ้ายนั้น ผู้ศึกษาได้ใช้วิธีการสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วม ใช้เวลาเก็บข้อมูล ตั้งแต่เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2563 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 วิทยานิพนธ์นี้ได้ศึกษาภาพตัดขวางของ ปรากฏการณ์เหล่านี้โดยอธิบายถึงความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์และสิ่งแวดล้อมผ่านการรณรงค์ของ ท้องถิ่นเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรและนิเวศen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620431010 MICHAEL KEATING DE LOACH.pdf2.15 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.