Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74066
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธเนศวร์ เจริญเมือง-
dc.contributor.authorอารยา ฟ้ารุ่งสางen_US
dc.date.accessioned2022-09-01T17:17:17Z-
dc.date.available2022-09-01T17:17:17Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74066-
dc.description.abstractThe transformation of Lanna from a colonial state into being no longer a colony and annexed as a part of Siam was caused by both external and internal factors. The external were 1.) Western expansionism surrounding Siam and 2.) King Rama V's visit to India and Burma in 1871-1872. The internal was a great learning by the Siamese elite. The Siamese monarch witnessed the colonial administration and forestry management methods from those visits. The Siamese elite found out backward management of the Lanna clite's teak business and also their ineffective rule over Lanna. Besides, the Siamese realized the great value and important states of teak in world market. The two factors have developed into a type of Trilateral Relations (Lanna-Siam-Great Britain), a special relationship during 1873 and 1899, There are three characteristics in it: 1.) Great Britain as an international colonizer collaborated with Siam as a regional colonizer in the reform of bureaucracy and forest management for mutual benefit; 2.) Siam increasingly controlled over Lanna, resulting in frequent conflicts between local people and Siamese bureaucrats; and 3.) two Chiang Mai Treatics in 1874 and 1883 and the Siamese takeover of teak industry in 1896 and 1900 have greatly reduced teak conflicts. The transformation has greatly impacted teak management later from 1900 to 1960. Great Britain and Siam, two colonizers at different levels, had mutual interests in teak resources management whereas local power went downhill. After Siam had learned more of forestry management techniques from British colonies, the role of teak companies of the British and others was further limited by Siam. Finally, teak industry and all other local resources became state properties.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleไม้สัก:พัฒนาการของรูปแบบความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างล้านนา สยาม และอังกฤษ พ.ศ. 2417-2503en_US
dc.title.alternativeTeak: development of power relations patterns between Lanna, Siam, and Great Britain A.D. 1874-1960en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashไม้สัก-
thailis.controlvocab.thashป่าไม้และการป่าไม้-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการเปลี่ยนผ่านจากรัฐล้านนาที่เป็นประเทศราชไปสู่การยกเลิกฐานะดังกล่าวและผนวกเข้าเป็น ส่วนหนึ่งของรัฐสยาม เกิดจากทั้งปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก คือ การขยายตัวของลัทธิ ล่าอาณานิคมจากตะวันตกที่ล้อมรอบสยามและการที่รัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสอินเดียและพม่า ในปี พ.ศ. 2414-2415 ได้ทรงเรียนรู้ทั้งวิธีการปกครองและการทำป่าไม้แบบอาณานิคม ปัจจัยภายใน คือ สยามมองเห็นความล้าหลังในการบริหารกิจการไม้สักของเจ้านายล้านนาและวิธีการที่สยามปกครอง ล้านนา ขณะเดียวกัน สยามก็ตระหนักในคุณค่าและฐานะที่สำคัญของไม้สักในตลาดโลก ปัจจัยทั้งสองส่วนได้พัฒนาไปสู่ความสัมพันธ์แบบรัฐสามเส้า (ล้านนา-สยาม-อังกฤษ) ซึ่งเป็น ความสัมพันธ์ลักษณะพิเศษที่เกิดขึ้นในช่วง พ.ศ. 2416-2442 มี 3 ลักษณะ คือ 1. อังกฤษในฐานะนักล่า อาณานิคมระดับนานาชาติร่วมมือกับสยามในฐานะนักล่าอาณานิคมระดับภูมิภาค ในการปฏิรูประบบ ราชการและการบริหารจัดการไม้สักเพื่อผลประโยชน์ร่วมกัน 2. สยามขยายอำนาจในล้านนาเพิ่มขึ้นเป็น ลำดับและเกิดความขัดแย้งหลายครั้งระหว่างคนล้านนาและข้าราชการสยาม และ 3. ข้อพิพาทไม้สักลดลง ด้วยข้อบังคับจากสนธิสัญญาเชียงใหม่สองฉบับ (พ.ศ. 2417, 2426) และการที่สยามเข้ายึดกิจการป่าไม้ ในปี พ.ศ. 2439 และพ.ศ. 2443 การเปลี่ยนผ่านได้ส่งผลกระทบอย่างมากต่อการบริหารป่าไม้ ในช่วง พ.ศ. 2443-2503 อังกฤษ และสยามในฐานะนักล่าอาณานิคมต่างระดับมีผลประโยชน์ตรงกันในการจัดการทรัพยากรป่าไม้ ขณะที่ อำนาจของท้องถิ่นถูกลดลงเป็นลำดับ จนเมื่อสยามขึ้นมามีบทบาทจัดการทรัพยากรป่าไม้อย่างเต็มที่และ เรียนรู้วิธีการทำไม้จากอาณานิคมของอังกฤษมากขึ้น บทบาทของบริษัททำไม้สักของอังกฤษและชาติ อื่นๆ ก็ถูกสยามจำกัด และในที่สุดกิจการป่าไม้และทรัพยากรท้องถิ่นทั้งหมดก็ตกเป็นของรัฐสยามen_US
Appears in Collections:POL: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611931006 อารยา ฟ้ารุ่งสาง.pdf5.72 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.