Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74062
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorRoengchai Tansuchat-
dc.contributor.advisorCharuk Singhapreecha-
dc.contributor.advisorJirakom Sirisrisakulchai-
dc.contributor.authorLu, Xiangqingen_US
dc.date.accessioned2022-09-01T17:09:37Z-
dc.date.available2022-09-01T17:09:37Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74062-
dc.description.abstractAs the world's largest exporter and second-largest importer, China has made exchange rate stability as a top priority for its economic growth. With the development of decade years, nevertheless, China already holds excess dollar reserves that have suffered a huge paper loss because of quantitative easing in the United States. In this reality, China has been provoked into speeding RMB internationalization as a strategy to reduce the cost and get rid of the excessive dependence on the US dollars. Thus, the present study attempts to explore the leverage and asymmetry effect of China's onshore exchange rate (CNY), China's offshore exchange rate (CNH), China's foreign exchange reserves (FER), and RMB internationalization level (RGI) from Aug 2010 to Jan 2021, by examining the ARMA-GJR-GARCH model. Secondly, the paper divided the four- variables into two sub-periods based on the "8. 1 1" China's exchange rate reform in 2015, and then investigates the volatility contagion effect and dynamic correlation via Diagonal BEKK GARCH models, compare the difference within two periods. Thirdly, this study performs the four-series forecast in both univariate and multivariate GARCH frameworks. We observe that there is asymmetry, but leverage effect not present among four assets. CNY is more sensitive to good news than bad news, while CNH, FER, and RGI are more sensitive to bad news than good news. The results evidence that before Aug 2015, there is a weak contagion effect among them. But after Sep 2015, the model validates the presence of strengthen volatility contagion within CNY and CNH, CNY and RGI, CNH and RGI. However, the contagion effect is weakened between FER and CNY, FER and CNH, FER and RGI. Moreover, the results exhibit large GARCH effects and relatively low ARCH effects among all periods. Furthermore, this study shows that there is no causality between the volatility of CNY and the volatility of the FER, also not a causal relationship between the volatility of the CNH and the Volatility of the RGI. But exists a time-varying dynamie correlation among them and connected with specific events. Such, forecasting figures of four assets, and assets returns, and assets volatility over the next ten months would be beneficial for policymakers, dealers, investors, traders, and future researchers.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleChina’s exchange rate volatility and repression: the contradictory development of RMB Internationalizationen_US
dc.title.alternativeความผันผวนและความกดดันของอัตราแลกเปลี่ยนจีน : การพัฒนาที่ขัดแย้งของการทำให้เงินสกุลหยวนเป็นสากลen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshChina -- Economic aspects-
thailis.controlvocab.lcshForeign exchange rates-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในฐานะเป็นประเทศส่งออกรายใหญ่ที่สุดและนำเข้ารายใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ประเทศจีนถือเสถียรภาพอัตราแลกเปลี่ยนเป็นสิ่งสำคัญสูงสุดในการเติบโตทางเศรษฐกิจ อย่างไรก็ ตามด้วยพัฒนาการสิบปีที่ผ่านมาจีนได้สำรองเงินดอลลาร์สหรัฐฯไว้มากเกินไป และเนื่องจาก มาตรการผ่อนคลายในเชิงปริมาณทางการเงินของสหรัฐอเมริกา ทำให้จีนขาดทุนทางบัญชีไปจำนวน มาก ภายใต้สถานการณ์เช่นนี้จีนจึงเร่งกระบวนการทำให้เงินสกุลหยวนเป็นสากล เพื่อลดต้นทุนและ กำจัดการพึ่งพาเงินดอลลาร์สหรัฐมากเกินไป ดังนั้นในขั้นตอนแรกของงานวิจัยนี้จึงพยายามนำโมเดล ARMA-GJR-GARCH สำรวจอัตราแลกเปลี่ยนบนบกของจีน (CNY) ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2553 ถึง มกราคม 2564 อัตราแลกเปลี่ยนนอกชายฝั่ง (CNH) เลเวอเรจและผลกระทบที่ไม่สมมาตรของทุน สำรองเงินตราต่างประเทศของจีน (PER) และ RMB internationalization RGI) มาใช้ ขั้นตอนที่สอง บทความนี้ใช้การปฏิรูปอัตราแลกเปลี่ยนของจีน"8. 11"ในปี 2558 เป็นตัวเชื่อมและแบ่งตัวแปรทั้งสี่ ออกเป็นสองขั้นตอน การใช้แบบจำลอง DBEKK-GARCH เพื่อตรวจสอบเอฟเฟกต์การกระจายของ ความผันผวนและความสัมพันธ์แบบไดนามิก รวมถึงเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างสองช่วงเวลา ขั้นตอนที่สามการวิจัยนี้ดำเนินการคาดการณ์สี่ชุดภายใด้กรอบตัวแปรเดียวและหลายตัวแปรGARCH จากการวิจัยสังเกตได้ว่ามีความไม่สมมาตรระหว่างสินทรัพย์ทั้งสี่ แต่ไม่มีผลกระทบจากเลเวอเรจเอฟ เฟกต์ CNY มีความอ่อนไหวต่อข่าวดีมากกว่าข่าวร้าย ในขณะที่ CNH, FER และ RGI มีความ อ่อนไหวต่อข่าวร้ายมากกว่าข่าวดี ผลการวิจัยพบว่าก่อนเดือนสิงหาคมในปี 2558 มีเอฟเฟกต์การ กระจายของความผันผวนเพียงเล็กน้อยระหว่างทั้งสองตัว แต่หลังจากเดือนกันยายน 2558 โมเคล ดังกล่าวได้ตรวจสอบแล้วว่ามีเอฟเฟกต์การกระจายของความผันผวนที่เพิ่มขึ้นระหว่าง RMB บนบก และนอกชายฝั่ง RMB บนบกและ RGI และ RMB นอกชายฝั่งและ RGI อย่างไรก็ตามผลกระทบจาก การติดต่อระหว่างอัตราแลกเปลี่ยนและ RMB อัตราแลกเปลี่ยนและ RMB อัตราแลกเปลี่ยนและ RGI ก่อนข้างอ่อนแอ ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าเอฟเฟกต์ GARCH ในแต่ละช่วงเวลานั้นค่อนข้างมาก ในขณะที่เอฟเฟกต์ ARCH นั้นค่อนข้างต่ำ นอกจากนี้งานวิจัยนี้ยังแสดงให้เห็นว่าไม่มีความสัมพันธ์ เชิงสาเหตุระหว่างความผันผวนของเงินสกุลหยวนและความผันผวนของตลาดแลกเปลี่ยนเงินตรา ระหว่างประเทศ รวมถึงไม่มีความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างความผันผวนของ CNH และความผัน ผวนของ RGI แต่มีความสัมพันธ์แบบไดนามิกที่แปรผันตามเวลาและเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์เฉพาะ สุดท้ายนี้การทำนายสินทรัพย์ทั้งสี่ ผลตอบแทนของสินทรัพย์และความผันผวนของสินทรัพย์ใน 10 เดือนข้างหน้า จะเป็นประโยชน์ต่อผู้มีอำนาจตัดสินใจ ผู้ค้า นักลงทุนธุรกรรม และนักวิจัยในอนาคตen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611635819 XIANGQING LU.pdf21.98 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.