Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73981
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรัทยา ชินกรรม-
dc.contributor.advisorนฉัตร์ฑพงศ์ แก้วสมพงศ์-
dc.contributor.advisorภารวี มณีจักร-
dc.contributor.authorธัชนนท์ อนันต์เจริญกิจen_US
dc.date.accessioned2022-08-21T00:50:17Z-
dc.date.available2022-08-21T00:50:17Z-
dc.date.issued2022-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73981-
dc.description.abstractThis study analyzes energy security and economic growth’s relationship with poverty reduction in selected ASEAN member states. To measure energy security, we consider five factors: availability, applicability, acceptability, affordability, and develop-ability. In this analysis, we run panel cointegration by Fully Modified Ordinary Least Square (FMOLS) with panel data on eight ASEAN member countries from 1990 to 2016. The empirical results show that all energy security variables, except the renewable energy consumption and CO2 emissions, have positive effects on economic growth. In addition, the results of this study show a positive relationship between poverty reduction and economic growth. Based on these results, policy makers should emphasise to find primary energy sources and focus on available of energy management on both supply and demand side and should research alternative energy sources and provide a diversified combination of energy sources to reduce reliance on primary energy sources in order to support applicability and acceptability. They should also try to modify the energy structure by focusing on the impact and contribution of the accessibility of the poor population whose access to new alternative energy sources can support economic growth for poverty reduction.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความมั่นคงทางพลังงานen_US
dc.subjectการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจen_US
dc.subjectการลดความยากจนen_US
dc.titleความมั่นคงทางพลังงาน การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการลดความยากจน: หลักฐานเชิงประจักษ์ของกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนen_US
dc.title.alternativeEnergy security, economic growth, and poverty reduction: Empirical evidence from selected ASEAN member statesen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashกลุ่มประเทศอาเซียน-
thailis.controlvocab.thashกลุ่มประเทศอาเซียน -- ภาวะเศรษฐกิจ-
thailis.controlvocab.thashความมั่นคงทางพลังงาน-
thailis.controlvocab.thashการพัฒนาเศรษฐกิจ-
thailis.controlvocab.thashความจน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์เล่มนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของความมั่นคงทางพลังงาน การเติบโตทางเศรษฐกิจ และการลดความยากจนของกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ในการวัดความมั่นคงด้านพลังงานได้ใช้แนวคิดของการพัฒนาที่ยั่งยืน ซึ่งมีอยู่ 5 มิติ ได้แก่ การมีอยู่ของพลังงาน การใช้ประโยชน์ของพลังงาน ความสามารถในการจ่าย การยอมรับและความสามารถในการพัฒนา โดยใช้ข้อมูลพาแนล จำนวน 8 ประเทศ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1990-2016 ผ่านแบบจำลองความสัมพันธ์ระยะยาว ด้วยวิธีการประมาณค่าแบบ Fully Modified Ordinary Least Square (FMOLS) พบว่าตัวแปรความมั่นคงทางพลังงานส่วนใหญ่ และการลดความยากจน มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีนัยสำคัญ ยกเว้นการใช้พลังงานหมุนเวียนและการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จากผลการศึกษาครั้งนี้ ผู้กำหนดนโยบายต้องเน้นที่การจัดการ บริหาร แหล่งพลังงานหลักทั้งด้านอุปสงค์และอุปทานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตลอดจนการวิจัย ค้นคว้า หาแหล่งพลังงานทางเลือกให้มีความหลากหลายเพื่อลดการพึ่งพาแหล่งพลังงานหลัก และเพิ่มการลงทุนทางพลังงานเพื่อปรับเปลี่ยนโครงสร้างพลังงานมาเป็นการเน้นใช้พลังงานทางเลือกมากขึ้นในบริบทประชาชนและกลุ่มอุตสาหกรรมสามารถเข้าถึงได้ เพื่อที่จะสามารถดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ สร้างรายได้และยกระดับคุณภาพชีวิต เป็นการลดความยากจน เพื่อการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน en_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
วิทยานิพนธ์.pdf1.43 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.