Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73941
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPiyanart Chatiketu-
dc.contributor.advisorAreewan Klunklin-
dc.contributor.advisorDanaitun Pongpatcharatorntep-
dc.contributor.advisorChalermpon Kongjit-
dc.contributor.authorKeerin Nopanitayaen_US
dc.date.accessioned2022-08-20T02:40:39Z-
dc.date.available2022-08-20T02:40:39Z-
dc.date.issued2021-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73941-
dc.description.abstractThis action research was designed to develop an appropriate learning model for the dependent elderly care in the community by applying the principles of knowledge management, adult learning, and the learning process focusing on engagement and interaction with learning activities through practice (active learning) as the main tools in the process execution. This process study was divided into three steps. The first step was to analyze the existing situations, comprising the existing dependent elderly care in the community, problems, and obstacles.Also, it included the guidelines or processes for problem-solving in the areas that received the model sub-district standard for long-term care of the elderly in Khua Mung sub- district health- promoting hospital, Chiang Mai Province. Regarding participant observation used to study the operation of caregivers in the community were focus group discussions and open- ended questionnaires with the sample groups; the director, the care manager, and the caregivers from sub- district health- promoting hospitals. The data was collected by taking notes and analyzed using a fishbone diagram to identify problems and obstacles. Then, the results of the analysis proceeded to the second step to develop an appropriate learning model for the dependent elderly care in the community by applying knowledge management, adult learning, and the learning process focusing on the learners' participation with the collaboration through the learning activities (active learning) such as hands- on practicing, as well as the development of knowledge and skill evaluation. In the developing learning model, caring for pressure ulcer cleaning was used for the case study of learning. The target audiences were caregivers in the Khua Mung sub- district health- promoting hospital and dependent elderly family members in the Khua Mung community. The operated had occurred in the Khua Mung sub- district health- promoting hospital and the Khua Mung community. Therefore, the third step is to bring the developed learning model tested within the Nong Phak sub-district health-promoting hospital and the Nong Phak community. The study results found that the learning model for the dependent elderly care in the community was suitable. The developed learning process enabled the Khua Mung sub- district health- promoting hospital caregivers to have skills in caring for pressure ulcers, cleaning, and evaluating their performances. It was also shared and transferred on the knowledge gained to caregivers of Nong Phak sub-district health-promoting hospital and dependent elderly family members in Nong Phak community. This learning model could enable new skills and knowledge to take care of dependent elderly in the community from one community to another. It can be further developed to achieve the learning model for the dependent elderly care on knowledge and other essential skills to other groups in the community in the future.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleDeveloping alearning model for the dependent elderly care in a community, Chiang Mai, Thailanden_US
dc.title.alternativeการพัฒนาโมเดลการเรียนรู้สำหรับการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashOlder people -- Care -- Chiang Mai-
thailis.controlvocab.thashOlder people -- Long-term care-
thailis.controlvocab.thashOlder people -- Conduct of life-
thailis.controlvocab.thashCommunities -- Chiang Mai-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโมเดลการเรียนรู้ที่เหมาะสมในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน ใช้หลักการการจัดการความรู้ การเรียนรู้แบบผู้ใหญ่ และกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรีนมีส่วนร่วมและมีปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ เป็นเครื่องมือหลักในการดำเนินกระบวนการ การศึกษานี้มี 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์สถานการณ์ ซึ่งประกอบด้วยการดำเนินงานการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนที่ดำเนินการอยู่ ปัญหาและอุปสรรค รวมทั้งแนวทางหรือกระบวนการในการดำเนินการแก้ใขในพื้นที่ที่ได้รับมาตรฐานตำบลต้นแบบของการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขัวมุง จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้การสังเกตอย่างมีส่วนร่วมเพื่อศึกษาการดำเนินงานของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน การสนทนากลุ่ม และการสัมภาษณ์ด้วยคำถามปลายเปิด กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลตำบลผู้จัดการระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข และผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล รวบรวมข้อมูลโดยการจดบันทึกและนำมาวิเคราะห์ โดยใช้แผนภูมิก้างปลาเพื่อหาปัญหาและอุปสรรคต่างๆ หลังจากการวิเคราะห์นำมาสู่ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาโมเดลดังกล่าวโมเดลการเรียนรู้ที่เหมาะสมในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน โดยใช้หลักการการจัดการความรู้ การเรียนรู้แบบผู้ใหญ่ และกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและมีปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ รวมทั้งการประเมินผลทางด้านความรู้และทักษะที่ได้พัฒนาขึ้นโดยใช้การดูแลแผลกดทับเป็นกรณีศึกษาเพื่อการเรียนรู้ มีกลุ่มเป้าหมายคือ ผู้ดูแลผู้สูงอายุของทั้งโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขัวมุงและผู้ดูแลของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่เป็นสมาชิกในครอบครัว ดำเนินการในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพและชุมชนตำบลขัวมุงและขั้นตอนที่ 3 คือการทดลองนำโมเดลการเรียนรู้ไปทดลองใช้ในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพและชุมชนตำบลหนองแฝก จังหวัดเชียงใหม่ ผลการศึกษาพบว่า ได้โมเดลการเรียนรู้ในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนมีความเหมาะสม กระบวนการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นทำให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขัวมุงมีทักษะในการดูแลแผลกดทับได้ ประเมินผลการปฏิบัติได้ด้วยตนเอง และยังสามารถแบ่งปันและถ่ายทอดความรู้ที่ได้ให้กับผู้ดูแลของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่เป็นสมาชิกในครอบครัวและ ผู้ดูแลผู้สูงอายุของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองแฝกได้ โมเดลการเรียนรู้ดังกล่าวจึงเป็นการช่วยให้เกิดทักษะและความรู้ใหม่ๆ ทางด้านการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน จากชุมชนหนึ่งไปสู่ชุมชนอื่นๆ ได้และสามารถนำไปพัฒนาต่อยอด เพื่อให้เกิดรูปแบบการเรียนรู้การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในด้านความรู้และทักษะอื่นๆ ที่สำคัญให้กับกลุ่มอื่นๆ ในชุมชนต่อไปในอนาคตen_US
Appears in Collections:CAMT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
572152001 คีรินท์ นพนิตย์.pdf5.69 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.