Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73916
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorKhanittha Punturee-
dc.contributor.authorWattanapong Prasongsuben_US
dc.date.accessioned2022-08-16T16:28:01Z-
dc.date.available2022-08-16T16:28:01Z-
dc.date.issued2020-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73916-
dc.description.abstractCardiovascular diseases (CVDs) are the leading causes of death worldwide. In Thailand, the government is facing an increasing rate of CVDs patients which relatively increased health care budget. The burden of CVDs is now growing fast due to an epidemic obesity, poor diet, dyslipidemia, high blood pressure and rising of type 2 diabetes which considered as the major risk factors of CVDs. CVDs can be prevented by tackle those risk factors. Sacha inchi (Plukenetia volubilis Linneo), known as "Inca peanut", is a native plant to the Peruvian tropical forest of South America. Sacha inchi becomes an economic plant in Thailand as its nutshell contain high amount of antioxidant and people who consumed nutshell as tea experienced the lipid lowering effect. Moreover, its seed contain high amount of omega-3 and omega-6 polyunsaturated fatty acids (PUFAs). Previous study found that o-3 PUF As decreased risk of CVDs. However, study about direct effect of sacha inchi on lipid profile is still lacking. This study aimed to investigate the inhibitory activity of sacha inchi oil and extracts on HMG-CoA reductase and cholesterol esterase, the effects of sacha inchi oil on lipid profile of hypercholesterolemia subjects and the safety of sacha inchi oil consumption. The sacha inchi oil did not showed any direct inhibitory activity on HMG-CoA reductase and cholesterol esterase. In contrast, sacha inchi nutshell extract showed the highest HMG-CoA reductase inhibitory activity, 65% inhibition at the concentration of 125 pg/mL. Sacha inchi nutshell extract inhibited HMG- CoA reductase in dose dependent manner by uncompetitive inhibition mechanism. Moreover, sacha inhi nutshell and baby nut extracts revealed the inhibitory activity on cholesterol esterase for 38% and 25 % respectively. A randomized, double blind, crossover study conducted with 30 hypercholesterolemia (total cholesterol between 220 to 250 mg/dL) adults (age range: 30-55 years old). The study consisted of 2 treatment phases including 2 months each with a washout period of 2 months between the phases. Fifteen subjects randomly allocated to the "sacha inchi oil first" group and 15 to "soybean oil first" group and assigned to receive a dose of sacha inchi oil (1.38 ml or 1.16 g) or matched soybean oil three times a day. Body mass index (BMI), waist/hip (W/H) ratio, blood pressure (BP), fasting blood sugar (FBS), lipid profile, liver function test (LFT), renal function test (RFT) and completed blood cell count (CBC) were measured at baseline and at every month interval. Repeated measures analysis was applied to assess the period and carryover effects of the sacha inchi oil over control oil on measured parameters. Decreased of total cholesterol and LDL-cholesterol levels with the consequent increased of HDL-cholesterol level were observed in sacha inchi oil consumption period. However, consumption of sacha inchi oil for 2 months did not change any safety parameters (LFT, RFT and CBC) as well as BMI, BP, FBS and W/H ratio. The findings suggested that sacha inchi nutshell extract potentially used as lipid lowering substance due to the HMG-CoA reductase and cholesterol esterase activity. Moreover, sacha inchi oil supplement is safe and beneficial in improving lipid profile of hypercholesterolemia subjects and hence advised for consumption of hypercholesterolemia.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectSacha Inchi oilen_US
dc.titleEffect of Sacha Inchi oil consumption on lipid profile in persons with Hypercholesterolemiaen_US
dc.title.alternativeผลของการรับประทานน้ำมันถั่วดาวอินคาต่อระดับไขมันในเลือดในผู้ที่มีภาวะโคเลสเตอรอลในเลือดสูงen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.lcshCardiovascular system -- Diseases-
thailis.controlvocab.lcshCare of the sick-
thailis.controlvocab.lcshInca peanut-
thailis.controlvocab.lcshMedicinal plants-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractโรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตของประชากรทั่วโลก อัตราการป่วย ด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือด ในประเทศไทยเพิ่มขึ้นทุกปื เป็นเหตุให้ภาครัฐต้องใช้งบประมาณใน การดูแลรักษาผู้ป่วยมากขึ้น สาเหตุของอัตราการป่วยด้วยโรคที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วมาจากการมีภาวะ อ้วน ไขมันในเลือดสูง ความดัน โลหิตสูง และการป่วยเป็นเบาหวานชนิดที่สองที่มีอุบัติการณ์เพิ่มมาก ขึ้น ซึ่งภาวะเหล่านี้เป็นปัจจัยเสี่ยงหลักของการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด อย่างไรก็ตามโรคนี้ สามารถป้องกันได้โดยการลดปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ การรักษาภาวะไขมันในเลือดสูง ทำได้ตั้งแต่การ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม การควบคุมอาหารและเพิ่มการออกกำลังกาย จนไปถึงการใช้ยาลดไขมันใน เลือด อย่างไรก็ตามการใช้ยาลดไขมันในเลือดอาจเกิดผลข้างเคียงได้ ดังนั้นจึงมีการพยายามศึกษาสาร จากธรรมชาติซึ่งมีความเป็นพิษน้อยมาช่วยในการลดไขมันในเลือด ดาวอินคามีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Plukenetia volubilis Linneo เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในป่าของประเทศเปรู ทวีปอเมริกาใด้ ซึ่งต่อมา ได้กลายเป็นพืชเศรษฐกิจของประเทศไทย เมล็ดดาวอินคาอุดมไปด้วยน้ำมันที่มีองค์ประกอบเป็นกรด ไขมันไม่อิ่มตัว ชนิด โอเมกา 3 และ โอเมกา 6 อยู่ในปริมาณสูง เคยมีรายงานว่ากรดไขมันชนิดโอเมกา 3 สามารถช่วยลดปัจจัยเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือดได้ แต่การศึกษาถึงผลของการบริโภค ดาวอินคาต่อการลดปัจจัยเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือดยังมีน้อย ดังนั้นการศึกษานี้จึงมี วัตถุประสงค์เพื่อทดสอบฤทธิ์ของสารสกัดจากคาวอินคาในการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ HMG- CoA reductase และ cholesterol esterase ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ และการดูดซึมโคเลสเตอรอล และศึกษาผลของการรับประทานน้ำมันดาวอินคาต่อระดับไขมันใน เลือดของอาสาสมัครที่มีไขมันในเลือดสูง รวมถึงศึกษาความปลอดภัยในการรับประทานน้ำมันดาว อินคาด้วย ผลการศึกษาพบว่า ฝักแก่ของดาวอินคามีฤทธิ์ในการยับยั้งการทำงานของเอนไซมั HMG- CoA reductase ถึงร้อยละ 65 ที่ความเข้มข้น 125 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร และยังพบว่า สารสกัด จากฝักแก่มีการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ HMG-CoA reductase แบบ dose dependent โดยมี รูปแบบการยับยั้งแบบไม่แข่งขันโดยตรง (uncompetitive inhibition) นอกจากนี้ฝักแก่และฝักอ่อน ของดาวอินคายังมีฤทธิ์ในการยับยั้งเอนไซม์ cholesterol esterase โดยมีร้อยละการยับยั้งอยู่ที่ 38 และ 25 ตามลำดับ สำหรับน้ำมันถั่วดาวอินคาไม่พบฤทธิ์ในการยับยั้งเอนไซมั HMG-COA reductase และ cholesterol esterase ในหลอดทดลองโดยตรง การศึกษาผลของการรับประทาน น้ำมันดาวอินคาต่อระดับไขมันในเลือดนั้นมีอาสาสมัครเข้าร่วมทั้งหมด 30 คน รูปแบบการศึกษาที่ ใช้คือ randomized, double blind, crossover study โดยแบ่งอาสาสมัครออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่ม แรกคือกลุ่มที่รับประทานน้ำมันดาวอินคาก่อน จำนวน 15 คน และกลุ่มที่สองคือกลุ่มที่รับประทาน น้ำมันถั่วเหลืองก่อน จำนวน 15 คน อาสาสมัครทั้งสองกลุ่มจะได้รับปริมาณน้ำมันที่เท่ากัน คือ 1.38 มิลลิลิตร หรือ 1.16 กรัม 3 ครั้งต่อวัน ระยะเวลาในการรับประทานน้ำมันคือ 2 เดือน หลังจากครบ เวลาอาสาสมัครทั้งสองกลุ่มจะไม่ได้รับน้ำมันชนิดใดเป็นเวลา 2 เดือน จากนั้นอาสาสมัครทั้งสองกลุ่ม จะได้รับน้ำมันคนละชนิดกับที่ได้รับครั้งแรก เป็นเวลานาน 2 เดือน ผลการศึกษาพบว่าระดับของ โคเลสเตอรอลรวม และ ไขมันตัวร้าย (LDL-cholesterol) ลดลง และมีระดับของไขมันตัวดี (HDL- cholesterol) ที่เพิ่มขึ้นในช่วงที่อาสาสมัครรับประทานน้ำมันดาวอินคา แต่ค่าดัชนีมวลกาย ความดัน โลหิต อัตราส่วนระหว่างเอวกับสะโพก และระดับน้ำตาลในเลือดของอาสาสมัครไม่เปลี่ยนแปลง การศึกษาความปลอดภัยในการบริโภคน้ำมันดาวอินคา พบว่าการรับประทานน้ำมันดาวอินคาเป็น ระยะเวลา 2 เดือนไม่ส่งผลเสียกับการทำงานของตับและไต รามไปถึงความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด ผล การศึกษาแสดงให้เห็นว่าการรับประทานน้ำมันดาวอินคามีความปลอดภัย และสามารถลดระดับ ไขมันในเลือดของอาสาสมัครที่มีไขมันในเลือดสูงได้ ความรู้ที่ได้สามารถนำมาใช้ในการพัฒนา ผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพจากคาวอินคาได้ ไม่ว่าจะเป็นในรูปของผลิตภัณฑ์จากน้ำมัน รวมไปถึง ผลิตภัณฑ์จากเปลือกของดาวอินคาen_US
Appears in Collections:AMS: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.