Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73895
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสราวุธ รูปิน-
dc.contributor.advisorนันทวรรณ ม่วงใหญ่-
dc.contributor.authorณัฐริกรานต์ แก้วนิลen_US
dc.date.accessioned2022-08-16T15:29:49Z-
dc.date.available2022-08-16T15:29:49Z-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73895-
dc.description.abstractThe research "Management of Museum and Cultural Heritage of Wat Phra That Doi Saket as a Learning Site and a Site for Cultural Tourism" aims to study historical, social, and cultural contexts of Choeng Doi community and Wat Phra That Doi Saket, including the background of the museum in order to present the management methods for the museum and cultural heritage of Wat Phra That Doi Saket as a learning site and a site for cultural tourism. This research is a qualitative research. The tools used in the data collection consist of the interview, field observation and focus group discussion. The study found that, in terms of historical and social contexts of Ban Choeng Doi community and Wat Phra That Doi Saket, since the end of the 24th century, many people have settled at the foothill of the Doi Saket area and the large market has become the center of Doi Saket District. Moreover, people of various ethnic groups are parts of Doi Saket community. As a result, Wat Phra That Doi Saket folk museum is the witness of valuable history and cultural heritage and it can be a learning site and cultural tourism attraction. However, the operation of the museum has problems about displaying the artifacts and the management of the museum. The method of management for the folk museum of Wat Phra That Doi Saket consists of museum display management and the exhibition which should be improved with the content of the history of ethnic groups, ways of life, social and cultural contexts of Doi Saket community, as well as museum management with community participation as the committee of the museum. Moreover, learning routes within the museum and learning center in Wat Phra That Doi Saket as a learning site and a site for cultural tourism should also be prepared.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดการพิพิธภัณฑ์และมรดกวัฒนธรรม วัดพระธาตุดอยสะเก็ดให้เป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมen_US
dc.title.alternativeManagement of museum and cultural heritage of Wat Phra That Doi Saket as a learning site and a site for cultural tourismen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashพิพิธภัณท์พื้นบ้านวัดพระธาตุดอยสะเก็ด-
thailis.controlvocab.thashวัดพระธาตุดอยสะเก็ด-
thailis.controlvocab.thashพิพิธภัณฑ์ -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashพิพิธภัณฑ์กับชุมชน -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาวิจัยเรื่อง "การจัดการพิพิธภัณฑ์และมรดกวัฒนธรรม วัดพระธาตุดอยสะเก็ดให้เป็น แหล่งเรียนรู้และแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม" มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประวัดิศาสตร์ บริบททาง สังคมและวัฒนธรรมของชุมชนบ้านเชิงดอยและวัดพระธาตุดอยสะเก็ด เพื่อศึกษาภูมิหลังความเป็นมา การบริหารจัดการ และสภาพปัญหาของพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวัดพระธาตุดอยสะเก็ด และเพื่อเสนอ รูปแบบและวิธีการจัดการพิพิธภัณฑ์และมรดกวัฒนธรรม วัดพระธาตุดอยสะเก็ดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ และแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ทำการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้เครื่องมือในการเก็บข้อมูล ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง แบบสังเกตการณ์ และแบบสนทนากลุ่ม ด้วยวิธีการสุ่ม ตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวน 30 คน ผลการศึกษาพบว่า ประวัติความเป็นมาและสังคมของชุมชนบ้านเชิงดอยและวัดพระธาตุดอย สะเก็ด มีการสร้างบ้านเรือนอาศัยอยู่บริเวณเชิงดอยสะเก็ด จึงเกิดเป็นวิถีชีวิตของชุมชนดลาดขนาด ใหญ่และเป็นจุดศูนย์กลางของอำเภอดอยสะเก็ด นับตั้งแต่ช่วงปลายพุทธศดวรรยที่ 24 ทั้งความ หลากหลายของกลุ่มชาติพันธุ์ในชุมชนดอยสะเก็ด การจัดตั้งพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวัดพระธาตุดอยสะเก็ด เกิดจากมรดกวัฒนธรรมที่มีคุณค่าและความสำคัญในการพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การดำเนินการของพิพิธภัณฑ์แห่งนี้มีปัญหาในส่วนของการจัดแสดง ศิลปวัตถุและในส่วนของการบริหารจัดการของพิพิธภัณฑ์ การเสนอรูปแบบการจัดการของพิพิธภัณท์พื้นบ้านวัดพระธาตุดอยสะเก็ด ประกอบด้วย การ ปรับปรุงเนื้อหาการจัดแสดงถึงประวัดิความเป็นมา กลุ่มชาติพันธุ์ วิถีชีวิต สังคมและวัฒนธรรมชุมชนพระธาตุดอยสะเก็ด คณะกรรมการบริหารพิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วมของชุมชนรวมทั้งเส้นทางการเรียนรู้ของพิพิธภัณฑ์และแหล่งการเรียนรู้บริเวณภายในวัดพระธาตุดอยสะเก็ดให้ เป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมen_US
Appears in Collections:FINEARTS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620332005 ณัฐริกรานต์ แก้วนิล.pdf20.05 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.