Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73887
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรสริน โอสถานันต์กุล-
dc.contributor.advisorชัยวัฒน์ นิ่มอนุสสรณ์กุล-
dc.contributor.authorเกื้อนรี อินต๊ะพันธ์en_US
dc.date.accessioned2022-08-16T15:01:27Z-
dc.date.available2022-08-16T15:01:27Z-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73887-
dc.description.abstractThis study examines the effect of the political participation within the elderly population on public health spending of countries within Asia, through adopting the panel co-integration method and the estimation of the panel model with the fully modified ordinary least square. The data used in the study were annual data from 2006 to 2016, which was divided into 3 groups of the study countries: flawed democracy, hybrid regimes, and authoritarian regimes. The empirical test results showed that there was a long-term equilibrium relationship in the model of public health spending, including public health expenditure, elderly voter share, gross domestic product per capita, inflation rate, government tax revenue and private health expenditures. These aforementioned factors possess long-term equilibrium relationships with each other in all countries. For the estimation of the relationship with fully modified ordinary least square method, it was found that the proportion of seniors with political voting had a positive effect on public spending of public health within flawed democratic and hybrid regime countries. Economic variables, such as gross domestic product per capita and private health expenditures, affect public spending on public health in all countries. In addition, inflation rate and government tax revenue per gross domestic product has no effect on public spending on public health within all countries.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของการมีส่วนร่วมทางการเมืองของผู้สูงอายุ ต่อการใช้จ่ายภาครัฐด้านสาธารณสุขในเอเชียen_US
dc.title.alternativeImpacts of political participation of the aging population on public health expenditure in Asiaen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการมีส่วนร่วมทางการเมือง-
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ -- กิจกรรมทางการเมือง-
thailis.controlvocab.thashรายจ่ายของรัฐ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้ ศึกษาผลของการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชากรผู้สูงอายุต่อการใช้จ่าย ภาครัฐด้านสาธารณสุขของประเทศในภูมิภาคเอเชียโดยใช้วิธีการพาแนล โคอินทิเกรชันและประมาณ ค่าแบบจำลองพาแนลด้วยวิธีการกำลังสองน้อยที่สุดปรับปรุงอย่างสมบูรณ์ ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา เป็นข้อมูลรายปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 ถึง พ.ศ. 2559 แบ่งกลุ่มประเทศที่ศึกษาเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ ประเทศ กลุ่มประชาธิปไตยบกพร่อง ประเทศกลุ่มปกครองแบบผสม และ ประเทศกลุ่มปกครองแบบเผด็จการ ผลการทดสอบเชิงประจักษ์แสดงให้เห็นว่ามีความสัมพันธ์เชิงคุลยภาพระยะยาวในแบบจำลอง การใช้จ่ายภาครัฐด้านสาธารณสุข ได้แก่ รายจ่ายภาครัฐด้านสาธารณสุข สัดส่วนประชากรผู้สูงอายุที่มี สิทธิออกเสียงทางการเมือง ผลผลิตมวลรวมในประเทศต่อประชากร อัตราเงินเฟ้อ รายได้รัฐบาลจาก ภาษีต่อผลผลิตภัณฑ์มวลรวม และรายจ่ายภาคเอกชนด้านสาธารณสุข ซึ่งมีความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพ ระยะยาวต่อกันในทุกกลุ่มประเทศ สำหรับการประมาณค่าความสัมพันธ์ด้วยวิธีกำลังสองน้อยที่สุดปรับปรุงอย่างสมบูรณ์ พบว่า สัดส่วนผู้สูงอายุที่มีสิทธิออกเสียงทางการเมืองมีผลทางบวกต่อการใช้จ่ายภาครัฐด้านสาธารณสุขใน ประเทศกลุ่มประชาธิปไตยบกพร่องและประเทศกลุ่มปกครองแบบผสม ส่วนตัวแปรทางเศรษฐกิง ได้แก่ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศต่อประชากรและรายจ่ายภาคเอกชนด้านสาธารณสุขมีผลต่อการ ใช้จ่ายภาครัฐด้านสาธารณสุขในทุกกลุ่มประเทศ ส่วนอัตราเงินเฟ้อและรายได้รัฐบาลจากภาษีต่อ ผลิตภัณฑ์มวลรวมไม่มีผลต่อการใช้จ่ายภาครัฐด้านสาธารณสุขในทุกกลุ่มประเทศen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611631003 เกื้อนรี อินต๊ะพันธ์.pdf2.21 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.