Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73886
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรพล ยะมะกะ-
dc.contributor.advisorณฉัตร์ชพงษ์ แก้วสมพงษ์-
dc.contributor.advisorวรัทยา ชินกรรม-
dc.contributor.authorกฤชยาภรณ์ ดวงแก้วen_US
dc.date.accessioned2022-08-16T14:58:58Z-
dc.date.available2022-08-16T14:58:58Z-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73886-
dc.description.abstractThis paper studies the vulnerability to poverty of households in Thailand to enhance poverty and prevent ex-ante poverty in future households. The study adopts secondary data sets from the household socioeconomic survey, conducted by the National Statistical Oflice Thailand (NSO) for 2013, 2015, and 2017, in which the mentioned data were collected every two years. The three-step feasible generalized least squares (3FGLS) procedure was employed to estimate poverty vulnerability in Thailand. The vulnerability to poverty of housebolds is measured based on household consumption, and then the Panel regression is used to investigate the macroeconomic impacts on the vulnerability to poverty in Thailand. Thus, the analysis of this study was divided into two parts, namely the measurement of vulnerability to poverty and macroeconomic determinants on vulnerability to poverty. The result shows that the variables of household size, the level of education, the status (married, single, divorced and occupations of household head are positive and signilicant to the level of household consumption in all three years. Furthermore, the vulnerability to poverty did not vary significantly for overall of Thailand any, but it is slightly lower in Bangkok than in other regions on average. Lastly, the panel regression analysis revealed that the factor that can keep a household out of vulnerability is Gross Reginal Product (GRP).en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความเปราะบางต่อความยากจนของครัวเรือนไทยen_US
dc.title.alternativeVulnerability to poverty of household in Thailanden_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashความจน -- ไทย-
thailis.controlvocab.thashครัวเรือน -- ไทย-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเปราะบางต่อความยากจนของครัวเรือนในประเทศไทยเพื่อ ยกระดับการแก้ไขปัญหาความยากจน และป้องกันไม่ให้เกิดความยากจนในครัวเรือนในอนาคต โดย ใช้ชุดข้อมูลทุติยภูมิจากการสำรวจภาวะเศรษฐกิจ และสังคมของครัวเรือนจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ สำหรับปี 2556 2558 และ 2560 ซึ่งข้อมูลดังกล่าวได้เก็บรวบรวมทุกสองปี โดยการวัดความเปราะบางต่อความยากจนวัดได้จากการบริโภคในครัวเรือนผ่านวิธีการวิเคราะห์ The three-step feasible generalized least squares (3FGLS) จากนั้นวิเคราะห์ปัจจัยเศรษฐกิจมหภาคที่ส่งผลกระทบต่อความเปราะบางต่อความยากจนเพื่อช่วยเหลือครัวเรือนให้หลุดพ้นจากความยากจนด้วยวิธีการวิเคราะห์การถดถอยของข้อมูลช่วงยาว (Panel Data Analysis) ดังนั้นการวิเคราะห์ของการศึกษานี้จึงแบ่งออกเป็นสองส่วน ได้แก่ การวัดความเปราะบางต่อความยากจน และปัจจัยทางเศรษฐกิจมหภาคต่อความเปราะบางต่อความยากจน จากผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าขนาดครัวเรือน ระดับการศึกษา สถานภาพ (สมรส, โสด, หย่าร้าง) และอาชีพของหัวหน้าครัวเรือน ส่งผลทิศทางเดียวกันกับการบริ โภคภายในครัวเรือนตลอดสามปีที่ทำการศึกษา มากไปกว่านั้นในการวัดความเปราะบางต่อความยากจน พบว่า ไม่ได้มีคำที่แดกต่างกันมากในภาพรวมประเทศไทย แต่กรุงเทพมหานครฯ มีค่าความเปราะบางน้อยที่สุด สุดท้ายนี้ในการวิเคราะห์การถดถอยของข้อมูลช่วงยาว (Panel Dala Analysis) พบว่าผลิตภัณฑ์มวลรวมรายภาศสามารถทำให้ครัวเรือนพ้นจากความเปราะบางต่อความยากจนได้en_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611631001 กฤชยาภรณ์ ดวงแก้ว.pdf2.86 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.