Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73873
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorJeeraporn Pekkoh-
dc.contributor.advisorChayakorn Pumas-
dc.contributor.advisorWasu Pathom-Aree-
dc.contributor.advisorKanchana Dumri-
dc.contributor.advisorJetsada Ruangsuriya-
dc.contributor.authorKittipat Chotchindakunen_US
dc.date.accessioned2022-08-16T10:00:08Z-
dc.date.available2022-08-16T10:00:08Z-
dc.date.issued2021-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73873-
dc.description.abstractPoly(3-hydroxybutyrate-co-3-hydroxyvalerate) (PHBV) derived from cyanobacteria is an environmental-friendly biodegradable polymer. The low yield of PHBV production is the main obstacle to the commercial production and the medical applications. Therefore, the manipulation of PHBV production could potentially overcome this obstacle. This doctoral thesis investigated evolutionarily divergent of the cyanobacteria obtained from local habitat of Thailand, including freshwater environments, hot spring areas, and solar saltern fields. Among the tested strains, Synechocystis sp. AARL T020, a hot spring cyanobacterium, showed a high PHBV accumulation rate with a fascinating 3-hydroxyvalerate mole fraction. A two-stage cultivation strategy with multiple organic carbons supplementation was a successful technique in maximizing cyanobacterial PHBV productivity. An optimized medium in the first stage of cultivation provided a 4.9-fold increasing in the biomass production. Subsequently, the addition of acetate, glycerol, and propionate in the second stage of cultivation can induce a significant biomass and the PHBV productivity. With this strategy, the final biomass production and PHBV productivity were increased by 7.0-fold and 14.7-fold, respectively. The GC-MS, FTIR, and NMR analyses confirmed that the obtained PHBV consisted of two sub-units of 3-hydroxyvaryrate and 3-hydroxybutyrate. Interestingly, the cyanobacterial PHBV exhibited lower thermal properties and crystallinity index which generating lower heating demand during the manufacturing process. Additionally, the biological assessment revealed cytocompatibility on 3T3-L1 preadipocyte cells. This research finding triggered the potential of cyanobacteria for the sustainable PHBV production, which could be applied as an alternative polymer for desired applications, such as drug delivery systems for lipoblastoma cancer, or incorporated biomaterial for wound healing.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleFactors influencing Polyhydroxybutyrate-co-hydroxyvalerate production from Cyanobacteria for biomedical applicationsen_US
dc.title.alternativeปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตพอลิไฮดรอกซีบิวทีเรตโคไฮดรอกซีวารีเลตจากไซยาโนแบคทีเรียสำหรับการประยุกต์ใช้ทางชีวการแพทย์en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshCyanobacteria-
thailis.controlvocab.lcshBiomedical engineering-
thailis.controlvocab.lcshPolymers-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractพอลิไฮดรอกซีบิวทีเรตโคไฮดรอกซีวารีเลตเป็นพอลิเมอร์ที่ผลิตได้จากไซยาโนแบคทีเรียและ มีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เนื่องมาจากสามารถสลายตัว ได้เองในธรรมชาติ ไซยาโนแบคทีเรีย ผลิตพอลิไฮดรอกซีบิวทีเรตโคไฮดรอกซีวารีเลตได้ในปริมาณต่ำถือว่าเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาสู่ กระบวนการผลิตที่ยั่งยืน ดังนั้น การศึกษาในครั้งนี้มุ่งเน้นถึงความสำคัญของความไซยาโนแบคทีเรีย ที่มีอยู่ในสภาพแวดล้อมท้องถิ่นของประเทศไทย จากการทดสอบไซยาโนแบคทีเรียแต่ละสายพันธุ์ พบว่า สายพนัธุ์ Synechocystis sp. AARL T020 จากน้ำพุร้อน มีอัตราการสะสมพอลิไฮดรอกซีบิว ทีเรตโคไฮดรอกซีวารีเลตร่วมด้วยสัดส่วนของไฮดรอกซีวาเลอเรตที่สูง จากความสำเร็จในการพัฒนา ระบบเพาะเลี้ยงแบบสองขั้นร่วมกับการเสริมสารคาร์บอนอินทรีย์ เพื่อเพิ่มอัตราผลผลิตสูงสุดของพอ ลิไฮดรอกซีบิวทีเรตโคไฮดรอกซีวารีเลต พบว่า การปรับปรุงสูตรอาหารเพาะเลี้ยงในขั้นแรกของการ เพาะเลี้ยงส่งผลให้ชีวมวลเพิ่มมากขึ้น 4.9 เท่า นอกจากนั้นการเพิ่มโซเดียมอะซีเตต กลีเซอรอล และ โซเดียมโพรพิโอเนตในขั้นที่สองของการเพาะเลี้ยงสองสามารถกระตุ้นการผลิตชีวมวลและพอลิไฮด รอกซีบิวทีเรตโคไฮดรอกซีวารีเลตได้อย่างมีนัยสำคัญ จากการเพาะเลี้ยงด้วยวิธีการดังกล่าวนี้ ส่งผล ให้การผลิตชีวมวลสุทธิและพอลิไฮดรอกซีบิวทีเรตโคไฮดรอกซีวารีเลตสุทธิเพิ่มขึ้น 7.0 และ 14.6 เท่า จากการวิเคราะห์ผ่านเทคนิค GC-MS, FTIR และ NMR พบว่า พอลิไฮดรอกซีบิวทีเรตโคไฮดรอก ซีวารีเลตที่ได้จากการผลิตประกอบด้วย 2 หน่วยย่อย ได้แก่ ไฮดรอกซีบิวทีเรตและไฮดรอกซีวารีเลต นอกจากนี้ พอลิไฮดรอกซีบิวทีเรตโคไฮดรอกซีวารีเลตที่ได้จากการเพาะเลี้ยงแสดงค่าลดลงทั้งในด้าน คุณสมบัติความร้อนและดัชนีความเข้มของผลึก ส่งผลให้ความต้องการพลังงานระหว่างกระบวนการ ขึ้นรูปต่ำลง และจากการประเมินทางชีวภาพ พบว่า พอลิไฮดรอกซีบิวทีเรตโคไฮดรอกซีวารีเลตมีความปลอดภยั เมื่อทดสอบกับเซลล์ 3T3-L1 preadipocyte งานวิจัยนี้แสดงให้เห็นถึงการประยุกต์ใช้ ไซยาโนแบคทีเรียเพื่อการผลิตพอลิไฮดรอกซีบิวทีเรตโคไฮดรอกซีวารีเลตอย่างยั่งยืนและสามารถนา พอลิไฮดรอกซีบิวทีเรตโคไฮดรอกซีวารีเลตที่ได้นี้ไปใช้ตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ เช่น วัสดุนำส่ง สารออกฤทธ์ิทางชีวภาพในกลุ่มเนื้อเยื่อไขมันหรือวัสดุฟื้นฟูบาดแผลทางผิวหนังen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590551045 กิตติภัฏ โชติจินดากุล.pdf3.71 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.