Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73866
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorYongyouth Yaboonthong-
dc.contributor.advisorChoocheep Puthaprasert-
dc.contributor.advisorTharn Thong-ngok-
dc.contributor.authorMalaiporn Wongchaiyaen_US
dc.date.accessioned2022-08-16T00:47:15Z-
dc.date.available2022-08-16T00:47:15Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73866-
dc.description.abstractThe objective of this research was to develop the strategies to promote schools as being schools of innovation of local governments in Chiang Rai province, divided into four phases as follows: Phase 1: The identification components and indicators to promote schools as being schools of innovation of local governments in Chiang Rai province. The obtained components and indicators were then confirmed by twelve experts from the connoisseurship using a confirmation form, and data were analyzed by summarizing in issues; Phase 2: The investigation of states, problems, factors supporting, and guidelines to promote schools as being schools of innovation of local governments in Chiang Rai province. The investigation of states, problems, and factors supporting to promote schools as being schools of innovation was studied from ninety-four school directors by a five-rating scale questionnaire, and data were analyzed by using mean and standard deviation, the guidelines were studied from fifty-five respondents by open-ended questions, and data were analyzed by content analysis; Phase 3: The development and verification of strategies to promote schools as being schools of innovation of local governments in Chiang Rai province by ten experts and data were summarized in strategies. The strategies were verified the accuracy, suitability, possibility, and utility by ten experts. Data were analyzed by mean and standard deviation; Phase 4: The studying the implementation results for the development of strategies to promote schools as being schools of innovation of local governments in Chiang Rai province, the satisfaction instrument used was a questionnaire from each project participant, data were analyzed by mean and standard deviation, and the reflection used was open-ended questions and a recording form by each project participants. Data were analyzed by frequency and rank, Results of the research were found as follows: 1. Results of synthesizing and confirming the components and indicators to promote schools as being schools of innovation of local governments in Chiang Rai province consisted of 5 components, and 31 indicators as follows: 1) The administrators had a vision and innovative competencies consisting of 8 indicators, 2) The learners had innovative skills, characteristics, and competencies consisting of 6 indicators, 3) A school curriculum based on innovative competencies consisting of 4 indicators, 4) The teachers who created learners as innovators consisting of 6 indicators, 5) The facilities were supported administration and learning management consisting of 7 indicators. 2. Results of investigation of states, problems, factors supporting, and guidelines to promote schools as being schools of innovation of local governments in Chiang Rai province, 1) the states in actual practice overall were overall at a low level; 2) the problems were overall at a moderate level; 3) the factors supporting were overall at a high level; 4) the guidelines to promote schools as being schools of innovation consisted of factors of school management, the management methods, technology and communication, knowledge and knowledge management, analysis and synthesis, and collaborative networks. 3. Results of drafting and formulating strategies to promote schools as being schools of innovation of local governments in Chiang Rai province strategies to promote schools as being schools of innovation of local governments in Chiang Rai province verified consisting of 1 vision, 8 missions, 3 goals, 4 strategies, and 18 indicators. The verification of the accuracy, suitability, possibility, and utility was at the highest level. 4. The implementation results in the development of strategies to promote schools as being schools of innovation in terms of Core Strategy 1: Strategic Planning, Policy, and Vision, the satisfaction with the project for training workshops to develop the potential of the preparation of educational development plans of Local Government Organizations and schools under the Local Government Organizations were at a high level. In terms of Core Strategy 2: The Plan Implementation, the satisfaction with a project of organizing the learning process according to the Philosophy of Sufficiency Economy was overall at a high level. In terms of Core Strategy 3: Verification, the satisfaction with a project of the workshop to evaluate educational institutions’ curricula with learning management technology was overall at the highest level. In terms of Core Strategy 4: The Appropriate Operations, the satisfaction with a project of an innovative exhibition of educational institutions was overall at the highest level. Keywords: Strategies, Schools as Be Schools of Innovation, Local Governments, Chiang Rai Provinceen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleDevelopment of strategies to promote schools as be schools of innovation of local governments in Chiang Rai Provinceen_US
dc.title.alternativeการพัฒนากลยทุธ์การส่งเสริมโรงเรียนสู่การเป็นสถานศึกษาแห่งนวตักรรม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดเชียงรายen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshEducational innovations-
thailis.controlvocab.lcshTechnological innovations-
thailis.controlvocab.lcshLocal government -- Chiang Rai-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยเรื่อง มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนากลยุทธ์การส่งเสริมโรงเรียนสู่การเป็นสถานศึกษา แห่งนวัตกรรมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดเชียงราย มีวิธีการดำเนินการวิจัย 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของการเป็นสถานศึกษาแห่งนวัตกรรม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงราย จากนั้นตรวจสอบและยืนยันองค์ประกอบและองค์ประกอบย่อยโดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 10 คน จากการการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญโดยใช้แบบยืนยัน และวิเคราะห์สรุป ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาสภาพ ปัญหาและปัจจัยที่เอื้อและแนวทางการส่งเสริมโรงเรียนสู่การเป็นสถานศึกษาแห่งนวัตกรรมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงรายโดยศึกษาสภาพและปัญหา จากผู้อำนวยการโรงเรียน 94 คน โดยใช้แบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ศึกษาแนวทางจากผู้ตอบแบบสอบถาม 55 คนด้วยคำถามปลายเปิด และวิเคราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์เนื้อหา ขั้นตอนที่ 3 สร้างและตรวจสอบกลยุทธ์การส่งเสริมโรงเรียนสู่การเป็นสถานศึกษาแห่งนวัตกรรม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงราย การสร้างรูปแบบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 10 คน สรุปเป็นประเด็น และตรวจสอบความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ โดยผู้ทรงคุณวุฒิชุดเดิม จำนวน 10 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 4 ศึกษาผลการใช้ กลยุทธ์การส่งเสริมโรงเรียนสู่การเป็นสถานศึกษาแห่งนวัตกรรมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงราย โดยศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการแต่ละโครงการ เครื่องมือที่ใช้แบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และศึกษาการสะท้อนคิด เป็นคำถามปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์ความถี่ และเรียงลำดับ ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของการเป็นสถานศึกษาแห่งนวัตกรรมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงราย มีทั้งสิ้น 5 องค์ประกอบ 31 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) ผู้บริหารที่มีวิสัยทัศน์และสมรรถนะเชิงนวัตกรรม 8 ตัวบ่งชี้ 2) ผู้เรียนมีทักษะ คุณลักษณะและสมรรถนะสำคัญเชิงนวัตกรรม 6 ตัวบ่งชี้ 3) หลักสูตรสถานศึกษาฐานสมรรถนะเชิงนวัตกรรม 4 ตัวบ่งชี้ 4) ครูผู้สร้างนวัตกร 8 ตัวบ่งชี้ และ 5) สิ่งสนับสนุนที่เอื้อต่อการบริหารและการจัดการเรียนรู้สร้างนวัตกรรม 7 ตัวบ่งชี้ 2. ผลการศึกษาสภาพ ปัญหา และปัจจัยที่เอื้อต่อการส่งเสริมโรงเรียนสู่การเป็นสถานศึกษาแห่งนวัตกรรมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงราย 1) สภาพการปฏิบัติโดยรวมอยู่ในระดับน้อย 2) ปัญหาโดยรวม อยู่ในระดับปานกลาง 3) ปัจจัยที่เอื้อต่อการส่งเสริมโรงเรียนสู่การเป็นสถานศึกษาแห่งนวัตกรรม โดยรวม อยู่ในระดับมาก 4) แนวทางการส่งเสริมโรงเรียนสู่การเป็นสถานศึกษาแห่งนวัตกรรม ประกอบด้วย ปัจจัยการบริหารสถานศึกษา วิธีการจัดการ เทคโนโลยีและการสื่อสาร ความรู้และการจัดการความรู้ วิเคราะห์สังเคราะห์ และเครือข่ายความร่วมมือ 3. ผลการสร้างกลยุทธ์การส่งเสริมโรงเรียนสู่การเป็นสถานศึกษาแห่งนวัตกรรมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงราย มี 1 วิสัยทัศน์ 8 พันธกิจ 3 เป้าประสงค์ 4 กลยุทธ์ และ 18 ตัวชี้วัด ผลการตรวจสอบ ความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ของกลยุทธ์ โดยรวมพบว่า ทุกด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด 4. ผลการใช้กลยุทธ์การส่งเสริมโรงเรียนสู่การเป็นสถานศึกษาแห่งนวัตกรรมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงราย พบว่า ผลการใช้กลยุทธ์หลักที่ 1 ด้านการวางแผนยุทธศาสตร์ นโยบาย วิสัยทัศน์ ความพึงพอใจต่อโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพ การจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและสถานศึกษาในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ผลการใช้กลยุทธ์หลักที่ 2 ด้านการปฏิบัติตามแผนความพึงพอใจต่อโครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ผลการใช้กลยุทธ์หลักที่ 3 ด้านการตรวจสอบ ความพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาด้วยเทคโนโลยีจัดการเรียนรู้ ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และผลการใช้กลยุทธ์หลักที่ 4 ด้านการดำเนินงานให้เหมาะสม ความพึงพอใจต่อโครงการมหกรรมการแสดงผลงานนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด คำสำคัญ : กลยุทธ์ โรงเรียนสู่การเป็นสถานศึกษาแห่งนวัตกรรม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดเชียงรายen_US
Appears in Collections:EDU: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.