Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73862
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorYongyouth Yaboonthong-
dc.contributor.advisorChoocheep Puthaprasert-
dc.contributor.advisorMonnapat Manokarn-
dc.contributor.authorPhannipha Sutcharitchiten_US
dc.date.accessioned2022-08-15T10:09:41Z-
dc.date.available2022-08-15T10:09:41Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73862-
dc.description.abstractThe objective of this research was to develop a model for developing innovation competencies of the teachers in schools under the Foundation of the Church of Christ in Thailand, divided into four phases as follows: Phase 1: The synthesizing of elements of innovation competencies of the teachers, Phase 2: The investigation of conditions, problems, and guidelines for developing innovation competencies of the teachers. Phase 3: The construction and verification of a model for developing innovation competencies of the teachers in schools, and Phase 4: The studying the implementation results of the model for developing innovation competencies of the teachers in schools. Resources were documentary synthesis and key informants were eleven experts to confirm elements and sub-element. The investigation of conditions and problems was studied by twenty-six school directors, and the guidelines were studied by fifty-two respondents. Model development was verified the accuracy and suitability by nine experts. The implementation results were studied by seven experts. The instruments used were the connoisseurship to confirm elements and sub-element, a five-rating scale questionnaire, and open-ended questions used to verify the correction and suitability of the model and model manual, the reflection instrument used was open-ended questions and a recording form, and the satisfaction instrument used was open-ended questions. Data were analyzed using agree, disagree, uncertain; mean and standard deviation; content analysis; percentage; and summarizing issues. Results of the research were found as follows: 1. Results of synthesizing and confirming the elements of innovation competencies of the teachers in schools consisted of 5 core components and 13 sub-components 1. Innovative and product-based thinking, 2. Learning management to create innovation, 3. Cooperation and teamwork., 4. Continuous self-improvement, and 5. Being a good role model. 2. Results of investigation of conditions, problems, and guidelines for developing innovation competencies of the teachers in schools, 1) the conditions of practicality were overall at a low level; 2) the problems were overall at a high level; 3) the development guidelines of teachers’ innovative competencies according to 1) the elements of teachers’ innovative competencies, 2) the methods of teachers’ development, 3) the use of learning media/innovation in development, and 4) measurement and evaluation in teachers’ development. 3. Results of construction and verification of a model for developing innovation competencies of the teachers in schools, the complete model consisted of four components: the principles, an objective, the development system, and mechanism, and conditions for achievement; including a model manual for implementing consisted of seven elements. The verification of the correction was overall at 97.67 percent and suitability was overall at 99.89 percent. 4. Results of studying the implementation results of the model for developing innovation competencies of the teachers in schools, 1) the reflection result was the Office of Education Ministry, The Church of Christ in Thailand Education, which supervised all schools as parallel mentors for the development of teachers’ innovative competencies together throughout each academic year; 2) the satisfaction results by observing during the development of teachers’ innovative competencies school administrators’ satisfaction was overall in accordance with highly expected. Keywords: Model, Innovation Competencies, Schools under the Foundation of the Church of Christ in Thailanden_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectรูปแบบen_US
dc.subjectสมรรถนะทางนวัตกรรมen_US
dc.subjectโรงเรียนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทยen_US
dc.titleA Model for developing innovation competencies of the teachers in schools under the Foundation of the Church of Christ in Thailanden_US
dc.title.alternativeรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะทางนวัตกรรมของครูในโรงเรียน สังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshPerformance-
thailis.controlvocab.lcshDiffusion of innovations-
thailis.controlvocab.lcshEducational change-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะทางนวัตกรรมของครู ในโรงเรียนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย มีวิธีการดำเนินการวิจัย 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การสังเคราะห์องค์ประกอบสมรรถนะทางนวัตกรรมของครู ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาสภาพ ปัญหา และแนวทางการพัฒนาสมรรถนะทางนวัตกรรมของครูในโรงเรียนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย ขั้นตอนที่ 3 การสร้าง และตรวจสอบรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะทางนวัตกรรมของครูในโรงเรียนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย ขั้นตอนที่ 4 การศึกษาผลการใช้รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะทางนวัตกรรมของครูในโรงเรียนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย โดยมีแหล่งข้อมูล คือ สังเคราะห์เอกสาร และผู้ให้ข้อมูลหลัก ตรวจสอบและยืนยันองค์ประกอบและองค์ประกอบย่อยโดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 11 คน ศึกษาสภาพและปัญหา จากผู้อำนวยการโรงเรียน 26 คน ศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะทางนวัตกรรมของครู จากผู้ตอบแบบสอบถาม 52 คน สร้างรูปแบบและตรวจสอบความถูกต้องและความเหมาะสมโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน และศึกษาผลการใช้รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะทางนวัตกรรมของครูในโรงเรียนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ การสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญโดยใช้แบบยืนยันองค์ประกอบและองค์ประกอบย่อย การใช้แบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดับ การใช้คำถามปลายเปิด แบบตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสมของรูปแบบ และคู่มือการใช้รูปแบบ การสะท้อนคิด เป็นคำถามปลายเปิดและแบบบันทึก และเครื่องมือศึกษาความพึงพอใจ เป็นคำถามปลายเปิด การวิเคราะห์โดยใช้การเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย และไม่แน่ใจ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์เนื้อหา การสรุปประเด็น และการหาค่าร้อยละ ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาองค์ประกอบของสมรรถนะทางนวัตกรรมของครูในโรงเรียนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย หลังการยืนยันมี 5 องค์ประกอบ 13 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1. การคิดเชิงนวัตกรรมและผลิตภาพ 2. การบริหารจัดการเรียนรู้เพื่อสร้างนวัตกรรม 3. ความร่วมมือและการทำงานเป็นทีม 4. การพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 5. การเป็นแบบอย่างที่ดี 2. ผลการศึกษาสภาพการพัฒนาสมรรถนะทางนวัตกรรมของครูที่จำเป็นในโรงเรียนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย พบว่า 1) สภาพการปฏิบัติ/เป็นจริงของการพัฒนาสมรรถนะทางนวัตกรรมของครู โดยรวมอยู่ในระดับน้อย 2) ปัญหาของการพัฒนาสมรรถนะทางนวัตกรรมของครู โดยรวมอยู่ในระดับมาก 3) แนวทางการพัฒนาความสามารถด้านนวัตกรรมของครู ได้แก่ 1) องค์ประกอบของความสามารถด้านนวัตกรรมของครู 2) วิธีการพัฒนาครู 3) การใช้สื่อการเรียนรู้/นวัตกรรมในการพัฒนา และ 4) การวัดและประเมินผลในการพัฒนาครู 3. ผลการสร้าง และตรวจสอบรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะทางนวัตกรรมของครูในโรงเรียนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย พบว่า รูปแบบ แบ่งออกเป็น 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) ระบบและกลไกการพัฒนา 4) เงื่อนไขความสำเร็จ และคู่มือการใช้รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะทางนวัตกรรมของครู ประกอบด้วย 7 ส่วน ผลการประเมินพบว่า โดยภาพรวมของรูปแบบ มีความความถูกต้อง โดยรวมอยู่ที่ร้อยละ 97.67 และความเหมาะสมอยู่ที่ ร้อยละ 99.89 4. ผลการใช้รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะทางนวัตกรรมของครูในโรงเรียนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย ผลการสะท้อนคิด พบว่า สำนักงานพันธกิจการศึกษาสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย ซึ่งดูแลกำกับโรงเรียน ควรจัดกลุ่มโรงเรียนพันธมิตรเพื่อการพัฒนา เป็นพี่เลี้ยงคู่ขนานในการพัฒนาสมรรถนะทางนวัตกรรมของครูร่วมกันตลอดทั้งปีการศึกษา และ ผลการศึกษาความพึงพอใจจากการสังเกตในระหว่างการพัฒนาสมรรถนะทางนวัตกรรมของครู ผู้บริหารโรงเรียนมีความพึงพอใจโดยรวมเป็นไปตามที่คาดหวังไว้อย่างสูง คำสำคัญ: รูปแบบ สมรรถนะทางนวัตกรรม โรงเรียนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทยen_US
Appears in Collections:EDU: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.