Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73846
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorน้ำผึ้ง อินทะเนตร-
dc.contributor.authorเอมมิกา บัวดีen_US
dc.date.accessioned2022-08-13T14:22:13Z-
dc.date.available2022-08-13T14:22:13Z-
dc.date.issued2021-01-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73846-
dc.description.abstractThe purpose of this research consists of 1) to develop indicator and components of the Characteristics of Leader in Professional Learning Communities 2) to assess the validity of a measurement model of Develop Measurement Model for Characteristics of Leader in Professional Learning Communities. 3) to classify and explain the differences between the teacher group based on their individual personality and Characteristics of Leader in Professional Learning Communities. Samples in the research were Teacher officials under the Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 1 - 6 was 867 teachers selected from a multi-stage random sampling technique. Furthermore, The research instruments was Professional Learning Community Leader Questionnaire with 5-rating scales and 77 questions. The data are additionally analyzed by using the Descriptive Statistics, the Exploratory Factor Analysis (EFA), the 2nd Confirmatory Factor Analysis (CFA), as well as the Latent Profile Analysis. The results of this study are as follows: 1. The results of the development of components and indicators of Characteristics of Leader in Professional Learning Communities are consists of three components with 20 indicators. The three components are 1) Supporting Professional Learning Community Skills with 5 indicators. 2) Profession Learning Community Skills with 9 indicators. 3) Self Internal Features with 10 indicators. The indicator's weight value is between 0.420 - 0.959, with an Eigen value between 1.146 and 12.996, the percentage variance between 4.773 – 54.149, and the cumulative percentage variance of 69.462. . 2. Model of Characteristics of Leader in Professional Learning Communities, the results show that the measurement model of the Characteristics of Leader in Professional Learning Communities attribute was in line with the empirical data as follows: 2  = 265.875, df = 243, 2  /df = 1.09, p-value = 0.1499, CFI = 0.998 and RMSEA = 0.015 The weight of each indicators in first-order CFA was significance at the level of .01 and all indicators were measurable. 3. The results of classifying the students according to their individual personality and Characteristics of Leader in Professional Learning Communities can be divided into 6 groups. The first group consists of teacher who accelerate Characteristics of Leader in Professional Learning Communities (6.24%), the second group is characteristics group consists of teacher who have ideology of the teaching professional (18.90%), the third group is teachers who characteristics group consists of teacher who focus on learning (34.18%), the fourth group is teachers who characteristics group consists of teacher who have energy of yourself (8.56%), fifth group is teachers who characteristics group consists of teacher who have great characteristics of leader in professional learning communities but not focused process (30.52%), and sixth group is teachers who characteristics group consists of teacher who have excellent characteristics of leader in professional learning communities (11.78%). The Entropy (Ek) is 0.965, Likelihood is -5407.720, AIC is 10690.68, BIC is 11394.92 and ABIC is 10845.91.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์โปรไฟล์แฝงคุณลักษณะผู้นำชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeLatent profile analysis of the characteristics of leader in professional learning communities under Chiang Mai primary educational service area officeen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการศึกษา-
thailis.controlvocab.thashการวัดผลทางการศึกษา-
thailis.controlvocab.thashครู -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashผู้นำชุมชน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของคุณลักษณะผู้นำ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู 2) ตรวจสอบความตรงของโมเดลการวัดคุณลักษณะผู้นำชุมชน แห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู และ 3) จัดกลุ่มครูตามคุณลักษณะผู้นำชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ครู กลุ่มตัวอย่าง คือ ข้าราชการครูสังกัดสานักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษาเชียงใหม่เขต 1 ถึง 6 จำนวน 867 คน ได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม คุณลักษณะผู้นำชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพชนิดมาตรประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 77 ข้อ มีค่า อำนาจจำแนก ( rxy ) ระหว่าง 0.430 - 0.870 ค่า t-test มีค่าอยู่ระหว่าง 2.667 – 10.986 และมีค่าความ เชื่อมั่น ( ) เท่ากับ 0.979 วิเคราะห์ข้อมูลด้วย สถิติพรรณนา การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสารวจ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับขั้นที่สอง และการวิเคราะห์ โปร์ไฟล์แฝง ผลการวิจัย สรุป ได้ดังนี้ 1) องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของคุณลักษณะผู้นำชุมชนแห่งการเรี ยนรู้ทางวิชาชีพครู ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ วัดจาก 24 ตัวบ่งชี้ คือ องค์ประกอบด้านทักษะเสริมกระบวนการชุมชน แห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู จำนวน 5 ตัวบ่งชี้ ด้านทักษะกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง วิชาชีพครู จำนวน 9 ตัวบ่งชี้ และด้านคุณลักษณะภายในตนเอง จำนวน 10 ตัวบ่งชี้ มีค่าน้ำหนักตัว บ่งชี้อยู่ระหว่าง 0.420 ถึง 0.959 โดยมีค่าไอเกนระหว่าง 1.146 ถึง 12.996 ค่าร้อยละความแปรปรวน ระหว่าง 4.773 ถึง54.149 และค่าร้อยละความแปรปรวนสะสมเท่ากับ 69.462 2) โมเดลการวัดคุณลักษณะผู้นำชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูของข้าราชการครูสังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาค่า  = 265.875, df = 243, p-value = 0.1499, 2  /df = 1.09, CFI = 0.998 และ SRMR = 0.015 พบว่า ค่าน้ำหนักองค์ประกอบในอันดับขั้นที่สองมีค่าอยู่ระหว่าง 0.847 – 0.972 โดยองค์ประกอบที่มี น้ำหนักองค์ประกอบในรูปคะแนนมาตรฐานมากที่สุด ได้แก่ ด้านทักษะกระบวนการชุมชนแห่งการ เรียนรู้ทางวิชาชีพครู รองลงมา คือ ด้านคุณลักษณะภายในตนเอง และด้านทักษะสนับสนุน กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูตามลำดับ 3) ผลการจัดกลุ่มครูตามคุณลักษณะผู้นำชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูของครูผู้สอน สามารถจัดได้ 6 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 กลุ่มครูที่เร่งเสริมคุณลักษณะผู้นำชุมชนแห่งการเรียนรู้ (6.24%) กลุ่มที่ 2 กลุ่มครูที่มีอุดมการณ์ทางวิชาชีพครู (18.90%) กลุ่มที่ 3 กลุ่มครูที่ตื่นรู้ (34.18%) กลุ่มที่ 4 กลุ่มที่มีแรงขับภายใน (8.56%) กลุ่มที่ 5 กลุ่มครูที่มีคุณลักษณะผู้นำชุมชนมากแต่เร่งเสริม กระบวนการ (30.52%) กลุ่มที่ 6 กลุ่มครูที่มีคุณลักษณะผู้นำโดดเด่น (11.78%) โดยมีค่า Entropy (Ek) เท่ากับ 0.965, Likelihood เท่ากับ -5407.720, AIC เท่ากับ 10690.68, BIC เท่ากับ 11394.92 และABIC เท่ากับ 10845.91en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590232022 เอมมิกา บัวดี.pdf4.63 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.