Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73783
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศุภฤกษ์ โพธิไพรัตนา-
dc.contributor.authorณัชชา ถิรกันตวุฒิen_US
dc.date.accessioned2022-08-06T10:12:13Z-
dc.date.available2022-08-06T10:12:13Z-
dc.date.issued2020-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73783-
dc.description.abstractThis research is aimed to study representation of lesbians in Club Friday The Series by using qualitative research methods. The data analysis was performed using textual analysis from four dramas with the main characters in the story. The research found that 1. The reflection of representative images of love between female and female in the dramas were divided into two parts: 1) a representative image that reflects the social reality. The lesbians were made in two types: in this type of relationship, there were the treated ones, most of which were women with male characteristics. They would be the one who protect and take care of their partner. However, women with normal characteristics but were disappointed in love from men are deceived and subject to social norms such as reuniting with men, returning to the role of mother and father, committing others. These women would return to a love that meets the standards of society, together with a man and make their female partners to be disappointed 2) Representational image reflected from the director process and perspective. In which the male directors conveyed a representative image of a woman who must be disappointed. The female director features a self-selected woman. The portraits of female love females differ according to the director's gender. 2. The narrative has two storylines: 1) the plot of deception 2) the plot of social class and status. This plot would create a conflict using 3 conditions: 1) social value conditions 2) physical condition 3) moral conditions. These conflicts would set the standards of society. So, when a woman loves a woman in contrast to this framework, it becomes a person who deviates from the main standards of society.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleภาพตัวแทนของหญิงรักหญิงในละครคลับฟรายเดย์ เดอะ ซีรีส์en_US
dc.title.alternativeRepresentation of lesbians in Club Friday The Seriesen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashเลสเบี้ยนในภาพยนตร์-
thailis.controlvocab.thashสตรีเลสเบี้ยน-
thailis.controlvocab.thashเลสเบี้ยน-
thailis.controlvocab.thashเพศศึกษาสำหรับสตรีเลสเบี้ยน-
thailis.controlvocab.thashรักร่วมเพศ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการประกอบสร้างภาพตัวแทนของหญิงรักหญิงในละคร คลับฟรายเดย์ เดอะ ซีรีส์ โดยงานวิจัยชิ้นนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์ ตัวบท (Textual Analysis) จากละครที่มีตัวละครหลักในเรื่องเป็นกลุ่มหญิงรักหญิง ทั้งหมด 4 เรื่อง ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาพตัวแทนของหญิงรักหญิงที่ปรากฏในละครถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1) ภาพตัวแทนที่สะท้อนให้เห็นถึงสภาพความเป็นจริงทางสังคม ทำให้หญิงรักหญิงถูกทำให้มีลักษณะ 2 แบบ ได้แก่ ผู้ถูกกระทำ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้หญิงที่มีลักษณะของผู้ชาย คือมีภาวะการเป็นผู้นำและคอย ปกป้องดูแลผู้หญิงอีกฝ่าย โดยผู้หญิงที่เป็นผู้ถูกกระทำจะถูกหลอกและทำให้ต้องจำยอมต่อบรรทัดฐาน ของสังคม ได้แก่ การกลับไปคบกับผู้ชาย และการกลับไปทำหน้าที่แม่ และส่วนผู้ที่กระทำผู้อื่น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้หญิงที่มีลักษณะปกติทั่วไป แต่เป็นผู้หญิงที่ผิดหวังด้านความรักจากผู้ชายมาก่อน ผู้หญิงเหล่านี้จะกลับเข้าสู่ความรักที่เป็นไปตามมาตรฐานของสังคมด้วยกันกลับไปคบกับผู้ชาย และทำให้ ตัวละครที่ถูกกระทำกลายเป็นตัวละครที่ต้องได้รับความผิดหวัง 2) ภาพตัวแทนที่สะท้อนจาก กระบวนการสร้างทางความคิดของผู้ผลิต ซึ่งผู้กำกับที่เป็นเพศชายนำเสนอภาพตัวแทนของหญิงรักหญิง ที่จะต้องเป็นฝ่ายที่ผิดหวัง ส่วนผู้กำกับที่เป็นเพศหญิงนำเสนอภาพตัวแทนของหญิงรักหญิงที่สามารถ เลือกเองได้ ทำให้ภาพตัวแทนของหญิงรักหญิงมีความแตกต่างกันตามเพศของผู้กำกับด้วย 2. การเล่า เรื่องที่มีโครงเรื่อง 2 แนวทาง ได้แก่ 1) โครงเรื่องของการหลอกลวง 2) โครงเรื่องของการใช้ชนชั้นและ สถานภาพทางสังคม มาสร้างความขัดแย้งโดยใช้เงื่อนไข 3 แบบ ได้แก่ 1) เงื่อนไขด้านค่านิยมทางสังคม 2) เงื่อนไขสรีระร่างกาย 3) เงื่อนไขศีลธรรม เพื่อเป็นการกำหนดมาตรฐานของสังคมเอาไว้ ซึ่งเมื่อ หญิงรักหญิงขัดต่อกรอบดังกล่าวก็จะกลายเป็นผู้ที่เบี่ยงเบนออกจากมาตรฐานหลักของสังคมen_US
Appears in Collections:MASSCOMM: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611832014 ณัชชา ถิรกันตวุฒิ.pdf6.14 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.