Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73765
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพนม กุณาวงค์-
dc.contributor.authorจิรปรียา แจขัดen_US
dc.date.accessioned2022-08-05T10:02:03Z-
dc.date.available2022-08-05T10:02:03Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73765-
dc.description.abstractAt present, Thai students have experienced crisis regarding education policy, and this can result in their similar opinions towards this phenomenon. This qualitative research aims to analyze goals and motivations which lead to the students' opinions towards Thai education policy. The data were collected from an interview. Samples in this study consist of students who expressed their opinions towards the Thai education policy and education personnel in the Education Service Area in Chiang Mai. The study shows that the students demand a change from the traditional education policy to the policy that fits their present-day contexts and social demands. The motivations of their opinions arise from online social platforms, together with friends on social media and friends in their real life. Ways of express opinions include commenting in social media, holding demonstrations, and employing symbolic gestures within and outside schools. This contributes to a set of policies from the Ministry of Education focusing on public hearing and consultation. Still, the goals mentioned above have not met the students' expectations.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความคิดเห็นของนักเรียนต่อนโยบายการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeOpinions of students towards education policy in educational service area in Chiang Maien_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashนโยบายการศึกษา -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashนักเรียน -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการบริหารการศึกษา -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในปัจจุบันนักเรียนได้เล็งเห็นถึงวิกฤตทางนโยบายการศึกษา จึงเกิดการขับเคลื่อนความคิดเห็นจากกลุ่มนักเรียนที่มีความคิดเห็นไปในทางเดียวกัน โดยงานวิจัยชิ้นมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาถึงเป้าหมายและแรงผลักดันที่ก่อให้เกิดการแสดงความเห็นของนักเรียนด่ต่อนโยบายการศึกษาไทย รูปแบบการขับเคลื่อนความคิดเห็น และผลของการแสดงความคิดเห็นของนักเรียนต่อนโยบายการศึกษาไทย ซึ่งวิจัยโดยระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ในเก็บข้อมูลคือ แบบสัมภาษณ์งานวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาประกอบไปด้วย นักเรียนผู้ที่เคยออกมาแสดงความคิดเห็นต่อนโยบายการศึกษาไทยและบุคลากรทางการศึกษาในเขตการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ ผลการศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนต่อนโยบายการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า นักเรียนต้องการปรับเปลี่ยนรูปแบบนโยบายการศึกษาแบบเดิมให้สอดคล้องกับยุคสมัยของนักเรียนและตรงกับอุปสงค์ทางสังคม โดยแรงผลักดันในการออกมาแสดงความคิดเห็นของนักเรียนถูกกระตุ้นจากสื่อสังคมออนไลน์ กลุ่มเพื่อนทั้งในสังคมปกติและสังคมออนไลน์ ซึ่งรูปแบบการขับเคลื่อนความคิดเห็นของนักเรียนจะแสดงออกมาในรูปแบบการแสดงความคิดเห็นทางสื่อสังคมออนไลน์ รวมทั้งการชุมนุมมวลชนและการแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ ทั้งในและนอกสถานศึกษาซึ่งผลจากการแสดงความคิดเห็นของนักเรียนที่ผ่านมา ส่งผลให้เกิดนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาในการเปิดรับฟังความคิดเห็น แต่ทั้งนี้เป้าหมายที่กล่าวข้างต้นของนักเรียนยังไม่ถูกดำเนินการให้บรรลุผลตามความคาดหวังของนักเรียนen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621932049 จิรปรียา แจขจัด.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.