Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73764
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพนม กุณาวงค์-
dc.contributor.authorกรองนภา ทะปะละen_US
dc.date.accessioned2022-08-05T09:53:19Z-
dc.date.available2022-08-05T09:53:19Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73764-
dc.description.abstractThis research aims to 1) study the effects on works according to the Public Procurement and Supplies Administration Act B. E. 2560 of Regional Customs Office 3 and the related customhouses, 2) examine the changes according to the Public Procurement and Supplies Administration Act B. E. 2560 in the Regional Customs Office 3 and 3) understand the consequences of change according to the Public Procurement and Supplies Administration Act B.E. 2560 of the Regional Customs Office 3 and the related customhouses. The research will be collected the information from 26 interviewees. To collect data, a semi-structure interview is used as a research tool and related document was also studied. The results reveal that 1) the Public Procurement and Supplies Administration Act B.E. 2560 has affected the work related to Public Procurement and Supplies Administration Act B.E. 2560 in both positive and negative ways. The positive aspects affect the works in terms of work flow and process, staff and human resource development and the proficiency skills but do not affect the organizational structure, the administration, the working strategy and the shared values in the organization. 2) With regard to changes, the 3 phases of work are developed according to the Public Procurement and Supplies Administration Act B.E. 2560. 1. To Unfreezing phase, the Regional Customs Office 3 has accepted that it is necessary and important to alter the procuring works align with the Public Procurement and Supplies Administration Act B.E. 2560. 2. To Changing phase, the organization has changed the aspects in terms of the internal structure, human resource and skill. 3. To Refreezing phase, the organization has encouraged the staff to frequently attend the training programs so that they could have efficiency and effectiveness in procuring works aligned with the Public Procurement and Supplies Administration Act B.E. 2560. 3) The procurement processes were successfully done since the procedure plan are well organized and aligned with the regulations from the beginning to the final stage. Therefore, the organization has the sufficient supplies for the staff to work. Aside from the satisfaction of the users, the budget is under controlled. The Regional Customs Office 3 has the effective procurement process under Public Procurement and Supplies Administration Act, B.E. 2560.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดการการเปลี่ยนแปลงกระบวนการงานพัสดุภายใต้พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ของสำนักงานศุลกากรภาคที่ 3en_US
dc.title.alternativeChange management of procurement process under Public Procurement and Supplies Administration Act, B.E. 2560 of Regional Customs Office 3en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashพัสดุ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ-
thailis.controlvocab.thashพัสดุ -- การจัดซื้อ-
thailis.controlvocab.thashการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ-
thailis.controlvocab.thashการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลกระทบการปฏิบัติงานพัสดุตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ของสำนักงานศุลกากรภาคที่ 3 และด่านศุลกากรในสังกัดสำนักงานศุลกากรภากที่ 3 2) ศึกษาการปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงของสำนักงานศุลกากรภาคที่ 3 และด่านศุลกากรในสังกัดสำนักงานศุลกากรภาคที่ 3 ในการปฏิบัติงานพัสดุตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 3) ศึกษาประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงานพัสดุตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐพ.ศ. 2560 ของสำนักงานศุลกากรภาคที่ 3 และด่านศุลกากรในสังกัด โดยวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยสัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูลรวมจำนวนทั้งสิ้น 26 คน ซึ่งการวิจัยใช้การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมช้อมูลและศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้องผลการวิจัยพบว่า 1) การปฏิบัติงานพัสดุตามพระราชบัญญัติกรจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ส่งผลกระทบทั้งเชิงบวกและเชิงลบต่อการปฏิบัติงานพัสดุตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ในด้านระบบกระบวนงานและขั้นตอนด้านบุคลากร การพัฒนาบุคลากร และด้านทักษะความสามารถความชำนาญ แต่ไม่ส่งผลกระทบในด้านโครงสร้าง ด้านรูปแบบด้านการบริหารงาน ด้านกลยุทธ์การปฏิบัติงาน และด้านค่านิยมร่วมแต่อย่างใด 2) หน่วยงานได้ดำเนินการปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงในการปฏิบัติงานพัดสุตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ 1. หน่วยงานมีการยอมรับถึงความจำเป็นและความสำคัญของการเปลี่ยนแปลงในการปรับตัวการปฏิบัติงานพัสดุตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ พ.ศ.2560 2. หน่วยงานดำเนินการเปลี่ยนแปลงในด้านบุคลากร และด้านทักษะ 3. หน่วยงานได้มีการรักษาสภาพใหม่ให้อยู่กับองค์การได้ถาวร โดยการส่งบุคลากรผู้ปฏิบัติงานเข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาให้มีทักษะความชำนาญในการปฏิบัติงานอย่างและบุคลากรผู้ปฏิบัติงานเข้ารับการฝึกอบรมและติดตามข้อกฎหมายระเบียบ หนังสือคณะกรรมการวินิจฉัยของกรมบัญชีกลางอย่างต่อเนื่อง 3) เนื่องจากเป็นการดำเนินการปฏิบัติงานที่บรรลุผลตามเป้าหมาย ผู้ปฏิบัติงานพัสดุมีการวางแผนก่อนการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง มีการปฏิบัติงานในขั้นตอนแรกจนถึงขั้นตอนสุดท้ายเป็นไปตามระเบียบข้อกฎหมาย ทำให้สามารถจัดหาวัสดุ ครุภัณฑ์ที่ใช้ในการปฏิบัติงานเพียงพอต่อการปฏิบัติงาน และดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างภายในวงเงินที่ไม่เกินงบประมาณ และสามารถนำมาซึ่งความพึงพอใจในด้านการให้บริการของสู้ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีและผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงาน ทำให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อการปฏิบัติงานพัสดุตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560en_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621932048 กรองนภา ทะปะละ.pdf15.68 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.