Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73747
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSorasak Leeratanavalee-
dc.contributor.advisorDara Phusanga-
dc.contributor.advisorSayan Panma-
dc.contributor.authorThodsaporn Kumduangen_US
dc.date.accessioned2022-07-31T04:30:16Z-
dc.date.available2022-07-31T04:30:16Z-
dc.date.issued2021-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73747-
dc.description.abstractFor a fixed positive n, an algebra of type (n + 1) is called a Menger algebra if the (n + 1)-ary operation defined on the base set of algebra satisfies the superasscociativity. The core idea of this thesis is the construction of a generalization of Menger algebras, especially further development in the theory of Menger algebras and semihypergroups along with some applications to theoretical computer science. The results of this thesis is divided into three main parts. In the first part, we focus on Menger algebras. Fundamental constructions and several properties of Menger algebras are given. Specific classes of n-ary functions are introduced, and a characterization for any (n + 1)-ary groupoids to be Menger algebras is proved. Generally, semihypergroups are algebraic hyperstructures that generalized semigroups. For this reason, in the second part of this thesis, we introduce the novel concept of Menger hyperalgebras, which is a natural generalization of both semihypergroups and Menger algebras. Several descriptions of certain algebraic properties including subhyperalgebras, homomorphisms, and quotient hyperstructures, are provided. Based on representation theorems for semigroups and Menger algebras, the situation in both semihypergroups and Menger hyperalgebras are studied using the idea of multivalued transformations and their extensions. Finally, in view of applications, we construct the Menger algebra of terms rewriting systems consisting of the set of all rewrite rules and an (n + 1)-ary operation satisfying the superassociativity by applying the theory which is developed in the first two parts of this thesis. A nice connection between terms that appear in the study of universal algebra and terms rewriting systems is also described.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleAlgebraic properties of Menger Hyperalgebras and applicationsen_US
dc.title.alternativeสมบัติเชิงพีชคณิตของพีชคณิตไฮเพอร์เมงเกอร์และการประยุกต์en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashMenger Hyperalgebras-
thailis.controlvocab.thashAlgebra-
thailis.controlvocab.thashMathematics-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractสำหรับจำนวนเต็มบวก n ที่ถูกตรึงไว้ พีชคณิตชนิด (n + 1) ถูกเรียกว่าพีชคณิตเมงเกอร์ ถ้าการคำเนินการ (n + 1) ภาคที่นิยามบนเซตฐานของพีชคณิตนั้นสอดคล้องกับกฎการเปลี่ยนหมู่แบบซุปเปอร์ แนวคิดหลักของดุษฎีนิพนธ์นี้คือ การสร้างการ วางนัยทั่วไปของพีชคณิตเมงเกอร์ โดยมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาทฤษฎีของพีชคณิตเมงเกอร์และกึ่งไฮเพอร์กรุปตลอดจนการประยุกต์สู่วิทยาการคอมพิวเตอร์เชิงทฤษฎีผลลัพธ์ของดุษฎีนิพนธ์นี้ถูกแบ่งออกเป็นสามส่วน ส่วนแรกเรามุ่งเน้นไปที่พีชณิตเมงเกอร์ การสร้างในขั้นพื้นฐานและสมบัติหลากหลายของพีชคณิตเมงเกอร์ได้ถูกนำเสนอ ชั้นที่จำเพาะของฟังก์ชัน n ภาค ได้ถูกแนะนำและการจำแนกลักษณะเฉพาะสำหรับกรุปพอยด์ (n + 1) ภาคที่จะเป็นพีชคณิตเมงเกอร์ได้รับการพิสูจน์ เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปว่ากึ่งไฮเพอร์กรุปเป็น โครงสร้างไฮเพอร์เชิงพีชกณิตที่วางนัยทั่วไปกึ่งกรุป ด้วยเหตุนี้ในส่วนที่สองของดุษฎีนิพนธ์เราจึงเสนอแนวคิดใหม่ของพีชคณิตไฮเพอร์เมงเกอร์ ที่ซึ่งเป็นการวางนัยทั่วไปแบบธรรมชาติของทั้งกึ่งไฮเพอร์กรุปและพีชคณิตเมงเกอร์ การอธิบายที่หลากหลายของสมบัติเชิงพีชคณิตบางประการรวมถึงพีชคณิตไฮเพอร์ย่อย สาทิสสัณฐาน และโครงสร้างไฮเพอร์ผลหารได้ถูกนำเสนออาศัยทฤษฎีตัวแทนของกึ่งกรุปและพีชคณิตเมงเกอร์เป็นฐาน สถานการณ์ของทั้งกึ่งไฮเพอร์กรุปและพีชคณิตไฮเพอร์เมงเกอร์ได้ถูกศึกษาโดยใช้แนวคิดของการแปลงหลายค่าและภาคขยาย ท้ายที่สุดในด้านของการประยุกต์ เราสร้างพีชคณิตเมง เกอร์ของระบบการเขียนใหม่ของพจน์ที่ประกอบด้วยเซตของกฎการเขียนใหม่ทั้งหมดและการดำเนินการ (n + 1) ภาคที่สอดคล้องกับกฎการเปลี่ยนหมู่แบบซุปเปอร์ โดยการประยุกต์ใช้ทฤษฎีบทที่ได้ถูกพัฒนาในสองส่วนแรกของดุษฎีนิพนธ์ฉบับนี้ ความเชื่อมโยงที่ดีเยี่ยมระหว่างพจน์ซึ่งปรากฎในการศึกษาพีชคณิตเอกภพและระบบการเขียนใหม่ของพจน์ได้ถูกอธิบายen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610551014 ทศพร คำดวง.pdf1.18 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.