Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73742
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมชาย ปรีชาศิลปกุล-
dc.contributor.authorภาสกร ญี่นางen_US
dc.date.accessioned2022-07-31T03:36:21Z-
dc.date.available2022-07-31T03:36:21Z-
dc.date.issued2021-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73742-
dc.description.abstractThe research aims to study the role of the Thai legal system and its institutions in managing major violent incidents in Thai political history, the 14th October 1974 uprising, the 6th October 1976 massacre, the May 1992 popular protest, and the 2010 April-May Thai military crackdown, based on question about how the state has been employing the judicial system to protect officials and others implicated in violence against civilians with impunity. The study is conducted in the concept of legal violence, drawing on theories of violence and legal impunity as well as knowledge of the state impunity and critical legal studies. The findings revealed that when the legal system is obliged to deal with state-sanctioned violence, it will always become a sort of violence by concealing, distorting, disguising, and justifying the violence in the setting that the preparators and commanders were exempted from punishment, despite clear evidence of the nature of the crime. Furthermore, the preceding case also reiterates that impunity is one of the political bodies whose role is to connect the other important powers and assuring their existence under the umbrella of state, to support and to sustain the structure of power relation in which authoritarians can violate civilians at any time and to provide fertile ground for impunity to culturally rooted which led to the legitimization of state-sanctioned violence at the end.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleกฎหมายในความรุนแรง ความรุนแรงในกฎหมาย: การลอยนวลพ้นผิดทางกฎหมายของรัฐไทยในกรณีการใช้กำลังเข้าปราบปรามผู้ชุมนุมทางการเมืองen_US
dc.title.alternativeLaw in violence, violence in law: state's legal impunity concerning violent crackdown on political protestersen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashความรุนแรง (กฎหมาย)-
thailis.controlvocab.thashความรุนแรงทางการเมือง-
thailis.controlvocab.thashการก่อการร้ายโดยรัฐ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นงานศึกษาที่มุ่งแสวงหาคำอธิบายเกี่ยวกับบทบาทของระบบกฎหมายและสถาบันกฎหมายรัฐไทยที่เข้าจัดการกับเหตุการณ์ความรุนแรงครั้งใหญ่ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย อันประกอบด้วยเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 โศกนาฎกรรม 6 ตุลาคม 2519 เหตุการณ์เดือนพฤษภาคม 2535 และเหตุการณ์สลายการชุมนุมเดือนเมยายน-พฤยภาคม 2553 โดยตั้งอยู่บนกรอบคำถามว่า รัฐไทยมีปฏิบัติการทางกฎหมาย เพื่อปกป้องคุ้มครองเจ้าหน้าที่รัฐและผู้เกี่ยวข้องกับความรุนแรงต่อประชาชน ให้ลอยนวลพ้นผิดไปได้อย่างไร ทั้งนี้ การศึกษาจะใช้แนวคิดทฤษฎีว่าด้วยความรุนแรงทางกฎหมายผ่านการประยุกต์เอาจากทฤษฎีว่าด้วยความรุนแรง และแนวคิดว่าด้วยการลอยนวลพ้นผิดทางกฎหมาย ผ่านองค์ความรู้เรื่องรัฐลอยนวล และการศึกษานิติศาสตร์แนววิพากษ์ผลลัพธ์ของการศึกษา พบว่า เมื่อระบบกฎหมายต้องเข้าจัดการกับความรุนแรงที่เจ้าหน้าที่รัฐได้ใช้กำลังปราบปรามประชาชน ระบบกฎหมายจะกลายสภาพหรือมีสถานะให้เป็นความรุนแรงรูปแบบหนึ่งทุกครั้ง ผ่านการซ่อนเร้น บิดเบือน กลบเกลื่อน รวมถึงให้ความชอบธรรมความรุนแรงจนเป็นเหตุให้ผู้กระทำและผู้ออกคำสั่งการลอยนวลพ้นผิดไปได้อย่างสิ้นเชิง แม้ว่าข้อเท็จจริงจะปรากฎพยานหลักฐานบ่งชี้ลักษณะของการกระทำความรุนแรงโดยชัดแจ้งก็ตาม นอกจากนี้ การลอยนวลพ้นผิดจากกรณีดังกล่าว ยังตอกย้ำให้เห็นอีกว่า การลอยนวลพ้นผิดถือเป็นสถาบันการเมืองอย่างหนึ่งที่มีหน้าที่ยึดโยงอำนาจสำคัญส่วนอื่น ๆ ให้ดำรงอยู่ไว้ในนามของรัฐไทย และคอยสนับสนุนค้ำจุนโครงสร้างระบบความสัมพันธ์ชิงอำนาจที่ผู้มีอำนาจรั ฐสามารถใช้ความรุนแรงต่อประชาชนได้ตลอดเวลา ทั้งยังมีส่วนเสริมสร้างวัฒนธรรมลอยนวลพ้นผิดให้ลงรากฝังลึก จนทำให้การใช้ความรุนแรงโดยรัฐ กลายเป็นเรื่องปกติธรรมดาในสังคมไทยen_US
Appears in Collections:LAW: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
602032016 ภาสกร ญี่นาง.pdf3.55 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.