Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73725
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพจนา พิชิตปัจจา-
dc.contributor.authorณภัทรธมณฑ์ ภาณุรัศมิ์โภคินen_US
dc.date.accessioned2022-07-26T09:44:19Z-
dc.date.available2022-07-26T09:44:19Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73725-
dc.description.abstractThe Objectives of this study are 1) to study work on the duty of governing officers for supporting the Special Economic Zone (SEZ), Mae Sai District, Chiang Rai Province; 2) to analyze the readiness of governing officers to work in the SEZ, Mae Sai District, Ching Rai Province; and 3) to study the problem of governing officers to work in the SEZ, Mae Sai District, Chiang Rai Province. This study uses a questionnaire and collects data from all 82 government officers of the Mae Sai district office. The researcher then tests the hypotheses by utilizing the Chi-Square test and Pearson's Correlation Coefficient. The findings show that the personal factors significantly correlate with the readiness of government officers to work for supporting the SEZ, Mae Sai District, Chiang Rai Province. The factors of age, level of education, working period in Mae Sai district office, skill of communicating the Chinese language, skill of using Microsoft office program, obtaining training about the SEZ, and knowledge about the SEZ are significant to the readiness. Moreover, the factors of supports from the Department of Provincial Administration following the Public Sector Management Quality Award to Government 4.0 (PMQA 4.0) including, leadership, strategic planning, focusing on service providers and stakeholders, measuring analyzing and knowledge management, human resources and focusing the operation system are significantly related to the readiness at a moderate level. According to the results, this study suggests that it remains imperative to enhance the crucial knowledge and skills in language and technology of the officers to raise the level of readiness to a higher efficiency level for supporting the SE2Z, Mae Sai District, Chiang Rai Province. In short, the District Chief Officer would be the leader to succeed in driving supports of the SEZ, Mae Sai District, Chiang Rai Province.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความพร้อมของฝ่ายปกครองในการสนับสนุนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงรายen_US
dc.title.alternativeThe Readiness of governing office for supporting Special Economic Zone (SEZ), Mae Sai District, Chiang Rai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashเขตเศรษฐกิจ -- แม่สาย (เชียงราย)-
thailis.controlvocab.thashข้าราชการฝ่ายปกครอง-
thailis.controlvocab.thashไทย -- ข้าราชการและพนักงาน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาการปฏิบัติหน้าที่ของฝ่ายปกครองในการสนับสนุนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย 2) เพื่อวิเคราะห์ความพร้อมของฝ่ายปกครองปฏิบัติตามหน้าที่ในการสนับสนุนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย และ 3) เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคของฝ่ายปกครองปฏิบัติหน้าที่ในการสนับสนุนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย และแนวทางในการพัฒนาความพร้อมของฝ่ายปกครองปฏิบัติหน้าที่ในการสนับสนุนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย การศึกษาใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปริมาณ โดยมีเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม เก็บข้อมูลจากประชากรที่ใช้การศึกษาคือ นายอำเภอและบุคลากรฝ่ายปกครองในที่ทำการปกครองอำเภอแม่สายทั้งหมด จำนวน 82 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบื่ยงเบนมาตรฐานและทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ค่าไคสแควร์และสัมประสิทธิสหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลของฝ่ายปกครองที่มีความสัมพันธ์กับความพร้อมปฏิบัติหน้าที่ในการสนับสนุนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาปฏิบัติงาน ในอำเภอแม่สาย ความสามารถสื่อสารภาษาจีน ความสามารถใช้งานโปรแกรม Microsoft Office การได้รับฝึกอบรมเขตพัฒนเศรษฐกิจพิเศษ และระดับความรู้เกี่ยวกับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษอำเภอแม่สาย อย่างมีนัยสำคัญสถิติ สำหรับปัจจัยด้านการได้รับสนับสนุนจากกรมการปกครองโดยได้นำเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสู่ระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ระดับพื้นฐาน หมวดที่ 1-6 มาประยุกต์ใช้ ได้แก่ การนำองค์กร การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์การให้ความสำคัญกับผู้บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การวัด วิเคราะห์และการจัดการความรู้ การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล และการมุ่งเน้นระบบการปฏิบัติการมีความสัมพันธ์กับความพร้อมปฏิบัติหน้าที่ในการสนับสนุนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงรายในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จากผลการศึกษาดังกล่าว ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะว่าการพัฒนาสมรรถณะด้านทักษะความจำเป็นด้านภาษาและเทคโนโลยีและความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ยังคงมีความจำเป็นที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องแก่บุคลากรทุกระดับ เพื่อยกระดับความพร้อมของบุคลากรในการเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของอำเภอให้สูงขึ้น รองรับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษในพื้นที่ โดยเฉพาะนายอำเภอที่มีบทบาทสำคัญในการนำองค์การเพื่อขับเคลื่อนการสนับสนุนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ตามเป้าหมายที่องค์การตั้งไว้en_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.