Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73720
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพนม กุณาวงค์-
dc.contributor.authorนรภพ อุทธยอดen_US
dc.date.accessioned2022-07-25T10:21:44Z-
dc.date.available2022-07-25T10:21:44Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73720-
dc.description.abstractThe importance tool for drug prevention and control is assets inspection of the accused in drug related cases. The Act on Suppression of Offenders Related to Narcotics, 1992, has determined that there is a judicious ground to suspect that any of the accused's assets are assets in connection with the drug offenses. There should be a process that have their assets inspected. Currently, it is found that the problems have become more serious. For example, arrest statistics showed that there were a number of cases where property inspections were ordered in the area Narcotics Control Office Region 5, average 20 cases per month. In the inspection process, there are procedures for conducting assets inspections, provisioning collection of facts and evidence and the summary of the inspection of those assets. This paper has studied whether there are enough resources for property inspection Furthermore, it is the researched of the effectiveness of inspecting assets in accordance with the Measure in the Suppression of Narcotics Act, 1992. Qualitative research methodology was used for this project. The tools used to collect information are research interview from comprising agencies under the Narcotics Control Agency Region 5. As a result, the lack of workforce for property inspection is an ongoing issue. The knowledge of the staff in the inspection of new dimensions, including compensation and benefits received should be reviewed and adjusted to be in line with adjoining agencies.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประเมินกระบวนการตรวจสอบทรัพย์สินตามพระราชบัญญัติ มาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. 2534 ของสำนักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติดภาค 5en_US
dc.title.alternativeAudit process evaluation of the Act on Measures to Suppress Offenders Related to Narcotics B.E.2534 of the Narcotics Control Office Region 5en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashสำนักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติดภาค 5-
thailis.controlvocab.thashการสอบสวนทรัพย์สิน-
thailis.controlvocab.thashทรัพย์สินส่วนบุคคล-
thailis.controlvocab.thashยาเสพติด -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการตรวจสอบทรัพย์สินของผู้ต้องหาในคดีที่เกี่ยวข้องยาเสพติด เป็นเครื่องมือสำคัญในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ซึ่งพระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพดิด พ.ศ. 2534 ได้กำหนดให้กรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าทรัพย์สินของผู้ต้องหารายใดเป็นทรัพย์สินที่กี่ยวเนื่องกับการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ให้มีการตรวจสอบทรัพย์สินของผู้นั้น ปัจจุบันพบว่าปัญหามีความรุนแรงมากขึ้น อาทิเช่นสถิติการจับกุมพบว่ามีจำนวนคดีที่มีการสั่งตรวจสอบทรัพย์สินในพื้นที่ สำนักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ภาค 5 เฉลี่ยนเดือนละ 20 คดี ในกระบวนการตรวจสอบนั้นมีขั้นตอนในการดำเนินการตรวจสอบทรัพย์สิน การจัดให้มีการพิสูจน์การรวบรวมข้อเท็จจริงและเอกสารหลักฐาน และการสรุปผลการตรวจสอบทรัพย์สิน บทความวิจัยนี้จึงได้ศึกษาถึงทรัพยากรในการตรวจสอบทรัพย์สิน ว่ามีเพียงพอหรือไม่ และเป็นการศึกษาประสิทธิภาพในการตรวจสอบทรัพย์สินตามพระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. 2534 โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ในเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสัมภาษณ์งานวิจัย โดยที่ใช้ในการศึกษาประกอบไปด้วย หน่วยงานสังกัดภายใต้สำนักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติคภาค 5 ผลการศึกษาพบว่า ทรัพยากรในการตรวจสอบทรัพย์สิน ในด้านบุคลากรยังขาดแคลน และยังต้องเพิ่มองค์ความรู้ของเจ้าหน้าที่ในการตรวจสอบทรัพย์สินในมิติใหม่ๆ รวมไปถึงค่าตอบแทนสิทธิประโยชน์ที่ได้รับต้องปรับปรุงให้ทัดเทียมกับหน่วยงานใกล้เคียงen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621932010 นรภพ อุทธยอด.pdf3.46 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.