Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73710
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธงชัย ภูวนาถวิจิตร-
dc.contributor.advisorชรินทร์ มั่งคั่ง-
dc.contributor.authorเกษม เสมจันทร์en_US
dc.date.accessioned2022-07-24T04:05:18Z-
dc.date.available2022-07-24T04:05:18Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73710-
dc.description.abstractThe Environment Literacy Through Creative Media of the Deaf Students are two research objectives: 1) To develop sign language media on waste management of students in grades 4 with Deaf impairment efficiency 80/80 and 2) To study learning outcomes with sign language media, subject: Waste separation among grade 4 with the Deaf students. The target group is the Deaf students, Grade 4, Anusan Sunthon School, Chiang Mai Province. By using sign language media material. The results of the research revealed as follows; 1. Sign language media of the Deaf students in grade 4 as effective as85.78 / 88.61 is a good medium. Which is higher than the 80/80 threshold. 2. The effectiveness index of sign language media was 74.53, showing that the students who studied with sign language mediahad a 74.53% increase in knowledge from before studying. 3. The Deaf students who learn with sign language media have a higher post-study average than before studying, a statistically significant difference at the .05 level 4. The Deaf students had the behavior of dumping garbage in the trash every time 8 people, 44.4 percent, and when the students bought things or snacks in the school and told the salesperson not to used plastic bags for 7 people, 38.9 percent.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการรู้สิ่งแวดล้อมผ่านสื่อสร้างสรรค์ ของคนไร้เสียงen_US
dc.title.alternativeEnvironment literacy through creative media of the deaf studentsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashภาษามือ-
thailis.controlvocab.thashสื่อการสอน-
thailis.controlvocab.thashการคัดแยกขยะ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการรู้สิ่งแวดล้อมผ่านสื่อสร้างสรรค์ ของคนไร้เสียง มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย 2 ประการคือ 1. เพื่อพัฒนาสื่อภาษามือภาพยนตร์สั้น เรื่องการคัดแยกขยะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่บกพร่องทางการได้ยินมีประสิทธิภาพ 80/80 และ 2. เพื่อศึกษาผลการเรียนรู้ด้วยสื่อภาษามือภาพยนตร์สั้น เรื่องการคัดแยกขยะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่บกพร่องทางการได้ยิน มีกลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนที่บกพร่องทางการได้ยินชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนโสตศึกษาอนุสารสุนทร จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้เครื่องมือสื่อภาษามือในรูปแบบภาพยนตร์สั้น สรุปผลการวิจัยปรากฏผล 4 ประการ ดังนี้ 1. สื่อภาษามือในรูปแบบภาพยนตร์สั้นของนักเรียนชั้นประถมศึกยาปีที่ 4 ที่บกพร่องทางการได้ยิน มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 85.78/88.61 เป็นสื่อที่ดี ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 2. ดัชนีประสิทธิผลของสื่อภาษามือในรูปแบบภาพยนตร์สั้น มีค่าเท่ากับ 74.53 ซึ่งแสดงว่านักเรียนที่เรียนด้วยสื่อภาษามือในรูปแบบภาพยนตร์สั้นแล้วมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 74.53 จากก่อนเรียน 3. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนด้วยสื่อภาษามือในรูปแบบภาพยนตร์สั้น มีค่าเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนด้วยสื่อภาษามือในรูปแบภาพยนตร์ สั้นมีพฤติกรรมอยู่ในระดับมากที่สุดหรือนักเรียนปฏิบัติเป็นประจำทุกครั้งคือ นักเรียนทิ้งขยะมูลฝอยลงในถังขยะทุกครั้ง จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 44.4 และเวลานักเรียนซื้อของหรือขนมในโรงเรียนแล้วบอกคนขายไม่ต้องใส่ถุงพลาสติกให้ จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 38.9en_US
Appears in Collections:GRAD-Humanities and Social Sciences: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
599932050 เกษม เสมจันทร์.pdf1.17 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.