Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73705
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรุจ ศิริสัญลักษณ์-
dc.contributor.advisorบุศรา ลิ้มนิรันดร์กุล-
dc.contributor.advisorประทานทิพย์ กระมล-
dc.contributor.authorณัชชา ยี่ใจen_US
dc.date.accessioned2022-07-23T09:57:33Z-
dc.date.available2022-07-23T09:57:33Z-
dc.date.issued2021-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73705-
dc.description.abstractThis present study aimed to study the nature of agricultural activities and to analyze the factors affecting the success of agricultural activities of the Young Farmer Project in Santisuk School, Doi Lo District, Chiang Mai Province. Santisuk School was established in 2010 with a total of 40 members selected from students with a broad range of interests and professional experience. This project is run by a high school student. There are five main activities for students to participate in the project, as follows: (i) growing organic vegetables such as Chinese pea, Cantonese pea, coriander, and long bean, and so forth, (ii) pig raising, (iii) raising frog in “condo”, (vi) raising of laying hens and broilers, and (v) raising fish in cages. This research was studied from the total target population and without random sampling as follows: 5 school administrators, 1 teacher responsible for agricultural activities, 40 participating students, and their parents who participated in the activities. An in-depth interviews and questionnaires were used as a tool for data collection. First, the study of attitudes towards the Young Farmer Project in Santisuk school, it was found that the school administrators, teachers in charge of the project, most of the students participating in the project, and their parents gave the attitude towards the Youth Farm Project at Santisuk school at a high level of agreement. Second, the study of opinions on factors affecting the success of agricultural activities of the Youth Farmers Project at Santisuk school, it was found that the factors that school administrators, teachers in charge of the project, students, and their parents gave the views that the factors affecting the success of the agricultural activities of the Youth Farmers Project at Santisuk school at a high to the highest level, i.e., (i) the agricultural activities of the young farmers project related to the mission, vision, and education management goal of the Santisuk school, (ii) there were agricultural extension officers taking part in the project, (iii) the agricultural activities of the Young Farmers Project in the school were suitable for the area and climate, (iv) the students acquired equally useful agricultural knowledge, skills, as well as agricultural practice techniques, (v) the students had potentially practical experiences in the agriculture field, (vi) the students had essential career skills such as growing crops, raising animals, and using a variety of agricultural equipment, and (vii) the school had sufficient personnel to carry out the agricultural activities. These phenomena mentioned above might be possibly explained that the school administrators expected that the Young Farmers Project was highly beneficial to their own students. In other word, this project encouraged students to interact with the agricultural procedure, contented experts in their communities, spent their free time wisely, applied and build on their agricultural skills to cover a variety of activities in their daily living, etc. Thus far, the school fully supported as well as provided the personnel, budget, materials, and equipment, setting for agricultural activities, and kept pushing the project to be successful. Moreover, there was supporting from outside agencies as well. Teachers and advisors for young farmers who are able to give advising, guiding, and educating were also necessary. In addition, parents also encouraged their children to participate in the Young Farmer Project. In their point of views, they anticipated that the project had various benefits for their children, e.g., the students were able to voluntarily join the project by themselves, gave students choices based on a variety of interests. Moreover, the student could offer other extracurricular interest activities based on their interests and could be a leader for the activities that they conducted. Various advantages for students who participate in this project were having self-reliance in the agriculture field, understanding the learning process to effectively working processes and applying it in the future, knowing how to work as a teamwork, solving problems together, economizing, earning extra money while studying, applying the knowledge gained to promote and develop their own community, and adapting the knowledge to his/her family for getting more income as well as determining career interests in agriculture for themselves and their family in the future. Almost all of the results described above, it could be seen that all factors combined together resulted in most participants, the school administrators, the teacher in charge of the project, and parents had the positive attitude towards the project at Santisuk School and all worked in close cooperation with each other. Resulting in the success of agricultural activities by receiving the outstanding young farmer award in 2019.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของกิจกรรมการเกษตรของโครงการยุวเกษตรกร โรงเรียนสันติสุข อำเภอดอยหล่อ จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeFactors affecting success of agricultural activities of the young farmer project at Santisuk school, Doi Lo District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนสันติสุข-
thailis.controlvocab.thashยุวเกษตรกร-
thailis.controlvocab.thashเกษตรกรรม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะกิจกรรมด้านการเกษตรและวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผล ต่อความสำเร็จของกิจกรรมด้านการเกษตรของโครงการยุวเกษตรกรในโรงเรียนสันติสุขอำเภอดอย หล่อ จังหวัดเชียงใหม่ โดยโรงเรียนสันติสุขเริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2553 มีสมาชิกก่อตั้งทั้งหมด 40 คน ซึ่ง คัดเลือกจากนักเรียนที่มีความสนใจและถนัดในวิชาชีพต่างๆ มีนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอน ปลายเป็นผู้ดำเนินการ ในส่วนของกิจกรรมหลัก ๆ ที่นักเรียนจะได้เข้าร่วม มีทั้งหมด 5 ฐาน ได้แก่ การปลูกผักปลอดสารพิษ เช่น ถั่วลันเตา กวางตุ้ง ผักชี และถั่วฝักยาว เป็นต้น การเลี้ยงสุกร การเลี้ยง กบคอนโด การเลี้ยงไก่ไข่และไก่เนื้อ และการเลี้ยงปลาในกระชัง การวิจัยครั้งนี้ศึกษาจากประชากร เป้าหมายทั้งหมดและไม่มีการสุ่มตัวอย่าง แยกได้ดังนี้ คณะผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 5 ราย ครู ผู้รับผิดชอบกิจกรรมด้านการเกษตร จำนวน 1 ราย นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 40 ราย และ ผู้ปกครองนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 40 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ เชิงลึกและแบบสอบถาม จากการศึกษาทัศนคติต่อโครงการยุวเกษตรกรภายในโรงเรียนสันติสุข พบว่า คณะผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้รับผิดชอบโครงการยุวเกษตรกร นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการยุว เกษตรกรและผู้ปกครองนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการยุวเกษตรกรส่วนใหญ่มีทัศนคติต่อโครงการยุว เกษตรกรภายในโรงเรียนสันติสุขอยู่ในระดับเห็นด้วยถึงเห็นด้วยอย่างยิ่ง จากการศึกษาความคิดเห็นต่อปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของกิจกรรมการเกษตรของ โครงการยุวเกษตรกรโรงเรียนสันติสุข พบว่า ปัจจัยที่คณะผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้รับผิดชอบ โครงการยุวเกษตรกร นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการยุวเกษตรกรและผู้ปกครองนักเรียนที่เข้าร่วม โครงการยุวเกษตรกร ส่วนใหญ่มีความเห็นว่าเป็นปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการดำเนินกิจกรรม ด้านการเกษตรของโครงการยุวเกษตรกรในโรงเรียนสันติสุข อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด ได้แก่ กิจกรรมด้านการเกษตรของกลุ่มยุวเกษตรกรสอดคล้องกับพันธะกิจ วิสัยทัศน์ เป้าหมายในการจัด การศึกษาของโรงเรียนสันติสุข มีเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินโครงการการดำเนินกิจกรรมด้านการเกษตรของโครงการยุวเกษตรกรในโรงเรียนมีความเหมาะสมกับพื้นที่และ สภาพภูมิอากาศ นักเรียนได้รับความรู้ ทักษะ เทคนิค ทางการเกษตรอย่างเท่าเทียมกัน นักเรียนได้ลง มือปฏิบัติจริง นักเรียนเกิดทักษะในการประกอบอาชีพ สามารถปลูกพืชเลี้ยงสัตว์และการใช้อุปกรณ์ ด้านการเกษตรได้เป็นอย่างดี โรงเรียนมีบุคลากรที่เพียงพอในการดำเนินกิจกรรมด้านการเกษตร ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า ทางคณะผู้บริหารสถานศึกษาเล็งเห็นว่าโครงการยุวเกษตรกรนั้นมี ประโยชน์ต่อตัวนักเรียนเป็นอย่างมาก กล่าวคือ เป็นโครงการที่สอนให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับการ ทำการเกษตร การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สามารถนาเอาวิชาความรู้จากการเข้าร่วมโครงการไป ต่อยอดและใช้ในชีวิตประจาวันได้ เป็นต้น ทางโรงเรียนจึงให้การสนับสนุนกับโครงการเป็นอย่างดี และสามารถเอื้ออำนวยในทุกด้าน ทั้งทางด้านบุคลากร งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ พื้นที่ที่ใช้ในการจัด กิจกรรม และคอยผลักดันให้โครงการประสบความสาเร็จ มีการช่วยเหลือและสนับสนุนจาก หน่วยงานภายนอก มีครูที่ปรึกษายุวเกษตรกรคอยให้คำแนะนำชี้แนะ ให้ความรู้กับนักเรียนที่เข้าร่วม โครงการยุวเกษตรกรได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ยังได้รับการสนับสนุนจากผู้ปกครองให้นักเรียนเข้า ร่วมโครงการยุวเกษตรกรเป็นอย่างดี เนื่องจากผู้ปกครองมีความเห็นว่าโครงการยุวเกษตรกรนั้น เป็นประโยชน์ต่อบุตรหลานของเขา โดยนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการยุวเกษตรกร สามารถสมัครใจเข้า ร่วมโครงการฯ ได้ด้วยตนเองและเลือกทำกิจกรรมตามที่ตนเองถนัด สามารถเสนอกิจกรรมเพิ่มเติม ตามความสนใจ มีส่วนร่วมในการดำเนินงานของแต่ละกิจกรรม และตัวนักเรียนเองเป็นผู้ดำเนิน กิจกรรม สิ่งที่นักเรียนจะได้รับในการเข้าร่วมโครงการยุวเกษตรกร คือ สามารถพึ่งพาตนเองได้ในด้าน การประกอบอาชีพเกษตรกรรม เรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการวางแผนการทำงาน การดำเนิน กิจกรรม และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในอนาคต รู้จักการทำงานเป็นทีม การทำงานร่วมกัน และ การแก้ไขปัญหาร่วมกัน รู้จักการออม มีรายได้ระหว่างเรียน สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปส่งเสริมและ พัฒนาให้กับชุมชนของตนเองได้ และยังสามารถนำมาปรับใช้ภายในครอบครัว ทำให้สร้างรายได้ สร้างอาชีพ ให้กับตนเองและครอบครัว จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่า คณะผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้รับผิดชอบโครงการยุวเกษตรกร นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ การมี ทัศนคติที่ดีต่อโครงการยุวเกษตรกรในโรงเรียนสันติสุข ส่งผลให้ประสบความสาเร็จในการดำเนิน กิจกรรมการเกษตรโดยการได้รับรางวัลยุวเกษตรกรดีเด่นในปี 2562 นั้นเองen_US
Appears in Collections:AGRI: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610832007 ณัชชา ยี่ใจ.pdf2.57 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.