Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73703
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorชัยสิทธิ์ ภูจีวรen_US
dc.date.accessioned2022-07-22T10:45:53Z-
dc.date.available2022-07-22T10:45:53Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73703-
dc.description.abstractResearch on Recidivism Offence and Relapse of the Drug Users in the Responsible Area of the Narcotics Control Office Region 5. The objective is to explore and analyze the influence of external factors including families, economic, social status, repeat offenders and repetition. Through the drug treatment process. To analyze the condition and influence of internal factors, including consciousness (awareness, perception, attitude and ability). About the drugs of offenders and repeat addicts. To analyze weaknesses or flaws. In the view of drug treatment processes this causes the process to not return to re-offending and repetitive drugs. It also offers a way to modify it. The method of drug treatment so that the drug treatment can achieve its goals. That is, it does not return to repetitive or repetitive offenses sustained. This is qualitative research by in-depth interviews with key informants, including 50 patients. The inmates, who are drug-related and have a history of repeat offenses and rebab in drug cases. This is from the Department of Corrections and Department Of Juvenile Observation and Protection. There are &8 provinces responsible for Chiang mai, Chiang Rai, Mae Hong Son, Nan, Lampang, Lamphun, Phayao, Phrae. The results of the study are summarized as follows: 1. External factors include family, economic, social, repeat offenders and repetition. More than half had family problems, economic, social and environmental issues. And part of it found no problems on the whole family side. Economic, social and environmental position. 2. External factors include family factors, economic status, social aspects and the environment. Influence repetitive and repetitive offenses. In part, such factors do not influence the return of repetitive or repetitive offences, but are caused by: 1) Ambition, power, passion, cravings, wanting to have 2) frustration, wanting to experiment, 3) frustration and self-control. 3. Internal factors include consciousness (awareness, perception, attitude and ability) about the drugs of offenders and repeat addicts. Through the drug treatment process. It was found that both good and negative results had good, no negative effects, and only bad effects. 4. The influence of factors within an individual includes the consciousness (awareness, perception, attitude and ability) of the offender and the repeat addict. Through the drug treatment process. It was found that the whole group was unsure whether to return to repeat offences or re-use. A group that is believed not to return to repeat or re-commit crimes. A group that believes it can stop selling drugs, but does not believe it can stop drug use, and a group that has no conviction to stop repeating or repetitive offenses. 5. Drug Treatment Process In the view of drug treatment processes. It was found that the whole group deemed the treatment process to be both useful and useless, only useful, and not the only benefit. 6. Modification guidelines The methodology in the drug treatment process to be able to achieve the following goals: 1) Creating consciousness (awareness, perception, attitude and ability). 2) The absence of support measures after the treatment is released 3) To provide legal knowledge of measures.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการกระทำความผิดซ้ำและการเสพซ้ำของผู้เสพในคดียาเสพติด ในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานป้องกันและ ปราบปรามยาเสพติด ภาค 5en_US
dc.title.alternativeRecidivism offence and relapse of the drug users in the responsible area of the Narcotics Control Office Region 5en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการติดยาเสพติด-
thailis.controlvocab.thashคนติดยาเสพติด-
thailis.controlvocab.thashคนเสพติด-
thailis.controlvocab.thashยาเสพติด-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยเรื่อง การกระทำความผิดซ้ำและการเสพซ้ำของกลุ่มผู้เสพในคดียาเสพติด ในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ภาค 5 มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจและวิเคราะห์ถึงอิทธิพลสภาพปัจจัยภายนอก ได้แก่ ครอบครัว ฐานะทางเศรษฐกิจ สังคม ของผู้กระทำความผิดซ้ำและการเสพซ้ำ ที่ผ่านกระบวนการบำบัดรักษายาเสพติด เพื่อวิเคราะห์ถึงสภาพและอิทธิพลของปัจจัยภายใน ได้แก่ จิตสำนึก (ความตระหนัก การรับรู้ ทัศนคติ และ ความสามารถแห่งตน) เกี่ยวกับยาเสพติดของผู้กระทำความผิดซ้ำและผู้เสพซ้ำ เพื่อวิเคราะห์หาจุดอ่อน หรือข้อบกพร่อง ในมุมมองของผู้ผ่านกระบวนการบำบัดรักษายาเสพติด ที่เป็นสาเหตุทำให้ยังไม่สามารถทำให้ผู้ผ่านกระบวนการดังกล่าวไม่กลับไปกระทำความผิดซ้ำและเสพซ้ำอีก รวมทั้งนำเสนอแนวทางการปรับเปลี่ยน รูปแบบวิธีการในการบำบัดรักษายาเสพติด เพื่อให้สามารถทำให้การบำบัดรักษายาเสพติดบรรลุผลได้ตามเป้าหมาย คือไม่กลับไปกระทำผิดซ้ำหรือเสพซ้ำได้อย่างยั่งยืน เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลหลัก รวม 50 ราย ซึ่งเป็นผู้ต้องขังซึ่งเป็นผู้ที่มีพฤติกรรมใช้ยาเสพติดและมีประวัติการกระทำผิดซ้ำและบำบัดรักษาช้ำซ้ำในคดียาเสพติดของกรมราชทัณฑ์ และสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ซึ่งมีพื้นที่รับผิดชอบจำนวน 8 จังหวัด ได้แก่จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดลำปาง จังหวัดลำพูน จังหวัดพะเยา จังหวัดแพร่ จังหวัดน่าน ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ 1. สภาพปัจจัยภายนอก ได้แก่ ครอบครัว ฐานะทางเศรษฐกิจ สังคม ของผู้กระทำความผิดซ้ำและการเสพซ้ำ มากกว่าครึ่งมีปัญหาด้านครอบครัว ฐานะทางเศรษฐกิจ สังคม และส่วนหนึ่งมาจากสภาพแวดล้อม และส่วนหนึ่งที่ไม่มีปัญหาทั้งด้านครอบครัว ฐานะทางเศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อม 2. ปัจจัยภายนอกได้แก่ ปัจจัยด้านครอบครัว ด้านฐานะทางเศรษฐกิจ ด้านสังคมและสภาพแวดล้อม มีอิทธิพลต่อการกระทำความผิดซ้ำและเสพซ้ำ และส่วนหนึ่งปัจจัยดังกล่าวไม่มีอิทธิพลต่อการกลับมากระทำความผิดซ้ำหรือเสพซ้ำ แต่สาเหตุมาจากปัจจัยเกี่ยวกับ 1) ความทะเยอทะยาน อำนาจ กิเลส ความอยากได้ อยากมี 2) ความคึกคะนอง อยากทดลอง 3) ความผิดหวังและการควบคุมตนเองไม่ได้ 3. ปัจจัยภายใน ได้แก่ จิตสำนึก (ความตระหนัก กรรับรู้ ทัศนคติ และ ความสามารถแห่งตน) เกี่ยวกับการเสพติดของผู้กระทำความผิดและผู้เสพซ้ำ ที่ผ่านกระบวนการบำบัดรักษายาเสพติด มีทั้งผลดีและผลเสีย มีผลดีไม่มีผลเสีย และมีแต่ผลเสียไม่มีผลดี 4. อิทธิพลของปัจจัยภายในตัวบุคคล ได้แก่ จิตสำนึก (ความตระหนัก การรับรู้ ทัศนคติและ ความสามารถแห่งตน) ของผู้กระทำความผิดและผู้เสพซ้ำ ที่ผ่านกระบวนการบำบัดรักษายาเสพติด มีทั้งกลุ่มที่ไม่แน่ใจว่าจะกลับไปกระทำความผิดซ้ำหรือเสพซ้ำอีกหรือไม่ กลุ่มที่เชื่อมั่นว่าจะไม่กลับไปกระทำความผิดช้ำหรือเสพช้ำอีก กลุ่มที่เชื่อมั่นว่าเลิกขายยาเสพติดได้แน่นอนแต่ไม่มีความเชื่อมันว่าจะเลิกการเสพยาเสพติคได้ และกลุ่มที่ไม่มีความเชื่อมั่น ที่จะเลิกกระทำความผิดซ้ำหรือเสพซ้ำ 5. กระบวนการบำบัดรักษายาเสพติด ในมุมมองของผู้ผ่านกระบวนการบำบัดรักษายาเสพติด มีทั้งกลุ่มที่เห็นว่ากระบวนการบำบัดมีทั้งประโยชน์และไม่มีประโยชน์ มีประโยชน์อย่างเดียว และไม่มีประโยชน์อย่างเดียว 6. แนวทางการปรับเปลี่ยน รูปแบบวิธีการ ในกระบวนการบำบัดรักษาขาเสพติด เพื่อให้สามารถทำใ ห้การบำบัดรักษายาเสพติด บรรลุผลได้ตามเป้าหมาย คือ 1) การสร้างจิตสำนึก (ความตระหนัก การรับรู้ ทัศนคติ และความสามารถแห่งตน) 2) การไม่มีมาตรการรองรับภายหลังจากที่ผู้ผ่านการบำบัดได้รับการปล่อยตัวออกไป 3) การให้ความรู้ด้านกฎหมายให้รับรู้ถึงมาตรการต่างๆen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621932003 ชัยสิทธิ์ ภูจีวร.pdf3.14 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.