Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73698
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพนม กุณาวงค์-
dc.contributor.authorจันทร์จิรา จอมแปงen_US
dc.date.accessioned2022-07-22T10:12:01Z-
dc.date.available2022-07-22T10:12:01Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73698-
dc.description.abstractThis study aims to 1) study the organizational resources for the policy implementation 2) investigate the characteristics and competencies of the organization for policy implementation, 3) examine the organizational relationship during the policy implementation and 4) study the results and effects of the policy implementation of Department of Public Works and Town and Country Planning Lamphun Office. This is a qualitative research that five key informants are Chief of Lamphun Office of Public Works and Town and Country Planning, Head of Division and Head of Unit. Moreover, the focus group was also conducted in 4 groups consisting of 5 persons each - Group 1: the staff from the Academic unit of the Country Planning division, Group 2: the staff from the Academic unit of Public Work and Town division, Group 3: the supporting staff and Group 4: the administrative staff. The semi-structure interview was used as a research tool. After the data collection, the content analysis wan done alongside with information from related document. In terms of organizational relationship, 1) In terms of the administrative resource, it was found that the organizational structure is clear and the human resources are insufficient. Also, the budget is sufficient for the instant policy implementation. 2) the highlighted characteristics and competencies of the organization for policy implementation are the administrators who able to develop the clear understanding regarding the policy implementation, the staff’s participation and the effective teamwork. Moreover, the practitioners have well understanding regarding the objectives and key information of the policies. They also have positive attitude and strong intention for the policy implementation. Next, 3) the result reveals that participation, systematic cooperated works and the driving force of the government lead to concrete policy implementation, participation from civic and government sectors and policy adoption. Next, 4) the results of the policy implementation show that the collaborating relationship, resources and competency are the factors driving to the achievement. The policy implementation is very important since people's needs are efficiently responded. Lastly, problems are also solved and people truly receive benefits from the policy implementation.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประเมินผลการนำนโยบายไปปฏิบัติของสำนักงานโยธาธิการ และผังเมืองจังหวัดลำพูนen_US
dc.title.alternativeAn Evaluation of policy implementation of Department of Public Works and Town and Country Planning Lamphun Officeen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashสำนักงานโยธาธิการและผังเมือง-
thailis.controlvocab.thashสำนักงานโยธาธิการและผังเมือง -- นโยบาย-
thailis.controlvocab.thashการบริหารงานบุคคล-
thailis.controlvocab.thashการบริหาร-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาทรัพยากรองค์กรในการนำนโยบายไปปฏิบัติ 2) ศึกษาคุณลักษณะและสมรรถนะของหน่วยงานในการนำนโยบายไปปฏิบัติ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร ในการนำนโยบายไปปฏิบัติ และ 4) ศึกษาผลการปฏิบัติงานและผลกระทบในการนำนโยบายไปปฏิบัติของสำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดดำพูน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยมีวิธีการศึกษา ดังนี้ ผู้ให้ช้อมูลสำคัญในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัดลำพูน และหัวหน้ากลุ่มงานและหัวหน้าฝ่าย จำนวน 5 คน และการจัดสนทนากลุ่ม (Focus group) จำนวน 4 กลุ่ม ๆ ละ 5 คน ดังนี้ กลุ่มที่ 1 เจ้าหน้าที่กลุ่มงานวิชาการผังเมือง กลุ่มที่ 2 เจ้าหน้าที่กลุ่มงานวิชาการโยธาธิการ กลุ่มที่ 3 เจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ กลุ่มที่ 4 เจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารงานทั่วไป ซึ่งการวิจัยใช้การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยนำข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์มาประกอบกับข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้อง และทำการวิเคราะห์เชิงเนื้อหาผลการวิจัย พบว่า 1) ทรัพยากรในการบริหาร พบว่า โครงสร้างองค์กรมีความชัดเจนบุคลากรมีจำนวนไม่เพียงพอ งบประมาณที่ใช้ดำเนินงานมีเพียงพอที่จะนำนโยบายไปปฏิบัติอย่างทันท่วงที 2) คุณลักษณะและสมรรถนะของหน่วยงาน มีลักษณะที่สำคัญ ได้แก่ ผู้บริหารสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติงานตามนโยบายชัดเจน เน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรในสังกัดและการทำงานเป็นทีมงานที่มีประสิทธิภาพ ผู้ที่นำนโยบายไปปฏิบัติมีความเข้าใจวัตถุประสงค์และสาระสำคัญของนโยบาย และมีทัศนคติที่ดีและมีความตั้งใจริงต่อการดำเนินการตามนโยบายไปสู่การปฏิบัติอย่างแท้จริง 3) ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร สามารถอธิบายสรุปได้ดังนี้ การมีส่วนร่วม การประสานการทำงานอย่างมีระบบ ภาครัฐมีส่วนขับเคลื่อนนโยบายในการปฏิบัติเชิงปฏิบัติการนำไปสู่ความเป็นรูปธรรมของนโยบาย ได้รับความร่วมมือจากภาครัฐและภาคประชาชน และยอมรับต่อนโยบาย 4) ผลการปฏิบัติงาน พบว่า ปัจจัยด้านความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร ปัจจัยด้านทรัพยากร และปัจจัยด้านสมรรถนะขององค์กร มีส่วนสำคัญที่จะช่วยผลักดันและขับเคลื่อนให้ภารกิจประสบความสำเร็จ การนำนโยบายไปปฏิบัติมีประสิทธิภาพอย่างมากในการตอบสนองความต้องการของประชาชน สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรมประชาชนได้รับประโยชน์จากการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติอย่างแท้จริงen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621932001 จันทร์จิรา จอมแปง.pdf7.9 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.