Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73673
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรวิชญ์ จันทร์ฉาย-
dc.contributor.authorจารุกร เพ็ญสละพันธ์en_US
dc.date.accessioned2022-07-20T09:46:58Z-
dc.date.available2022-07-20T09:46:58Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73673-
dc.description.abstractThe purpose of this research is capturing and refine operational knowledge from the experience of experts who work in production and quality control department of business unit for consumer (BU-C) and developing a group of knowledge and skill to set skills recommendation for practice and as a guideline for career paths with the maturity model. This research collected mostly qualitative data. Population and samples used in this research is 12 people of production and quality control managers and staffs of business unit for consumer (BU-C)of the spice and seasoning company in San Pa Tong District, Chiangmai. Experts 6 people selected as supervisors and staffs who were identified as highly performance from their supervisor. The tools used in this research for using a form of Behavioral Event Interview (BEI) to capture knowledge from experts. Confirm knowledge that interview with experts and analysis knowledge and develop into a Knowledge Map. Apply the knowledge maps by developing in form of skill set on Maturity Model. And review the content of skill set with manager and used Focus Group tool to discuss between experts with manager and confirm the opinions with human resources department before applying and implement this research process in the organization. From the results of this research, it was found that manager of both departments accepted the skills set results which Quality Control manager agreed with the experts by adding more details within the skill set to be more complete. And Production manager used Focus Group with Experts to match their skills set. Human resources Executive accepted this research model and expected to expand results throughout all business unit. Skills set of quality control and production department developed for the purpose of Knowledge management. Skills set and skill recommendation meets expectations the objectives of the researcher which can used as a guideline for training and development. The operator staffs can see career paths and for Human Resource department also can help in many areas such as recruiting and Performance appraisal.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดการความรู้เพื่อออกแบบชุดความรู้และทักษะการพัฒนาและฝึกอบรมของหน่วยธุรกิจสำหรับผู้บริโภคen_US
dc.title.alternativeKnowledge management in designing knowledge and skill of training and development program for consumer business uniten_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashการบริหารองค์ความรู้-
thailis.controlvocab.thashการบริหารงานบุคคล-
thailis.controlvocab.thashการพัฒนาบุคลากร-
thailis.controlvocab.thashการบริหาร-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อสกัดองค์ความรู้ที่สำคัญและจำเป็นของการผลิตและควบคุมคุณภาพ จากประสบการณ์ของพนักงานหน่วยธุรกิจสำหรับผู้บริโภค (BU-C) ที่เป็นผู้ปฏิบัติงาน และเพื่อนำองค์ความรู้มากำหนดเป็นชุดทักษะแนะนำที่ควรมีเพื่อการทำงาน (Skill Recommendation) และเป็นแนวปฏิบัติในการสร้างการเติบโต (Career path) ตามแบบจำลองวุฒิภาวะ (Maturity Model) โดยการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ กลุ่มประชากร/กลุ่มตัวอย่างที่ ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือฝ่ายผลิตและฝ่ายควบคุมคุณภาพของหน่วยธุรกิจเพื่อผู้บริโภค (BU-C) ของโรงงานเครื่องเทศและปรุงผงรส ในอำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 12 คน โดยผู้เชี่ยวชาญคัดเลือกจากการเป็นหัวหน้งาน และคัดเลือกจากผู้ที่ถูกระบุว่ามีความสามารถสูงจากหัวหน้างาน จำนวน 6 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ โดยการสัมภาษณ์เชิงพฤติกรรม (BEI : Behavioral event interview) ในการจับองค์ความรู้จากผู้เชี่ยวชาญ โดยนำองค์ความรู้ไปยืนยันข้อมูลการสัมภาษณ์กับผู้เชี่ยวชาญ และนำมาวิเคราะห์องค์ความรู้พัฒนาเป็นแผนภาพความรู้ (Knowledge Map) การนำองค์ความรู้ที่ผ่านการพัฒนาเป็นแผนภาพความรู้มาประยุกต์ใช้ โดยพัฒนาในลักษณะของชุดทักษะตามแบบจำลองวุฒิภาวะ (Maturity Model) และนำชุดทักษะไปตรวจสอบเนื้อหากับผู้บริหาร และสนทนากลุ่ม (Focus Group) ระหว่างผู้เชี่ยวชาญและผู้บริหาร และสรุปความคิดเห็นกับผู้บริหารหน่วยงานทรัพยากรบุคคลก่อนการนำไปใช้จริงในองค์กร จากผลการศึกษาในครั้งนี้พบว่า ผู้บริหารทั้ง 2 หน่วยงาน มีความเห็นตรงตรงกัน โดยผู้บริหารของฝ่ายควบคุมคุณภาพมีความเห็นตรงกันกับผู้เชี่ยวชาญโดยเพิ่มเติมรายละเอียดภายในชุดทักษะให้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น สำหรับผู้บริหารของฝ่ายผลิตสนทนากลุ่มร่วมกับผู้เชี่ยวชาญได้ข้อสรุปของชุดทักษะที่ตรงกับความต้องการของหน่วยงาน และผู้บริหารหน่วยงานทรัพยากรบุคคลให้การยอมรับรูปแบบการวิจัยครั้งนี้ในการขยายผลทั่วทั้งองค์กร ชุดทักษะที่พัฒนาขึ้นมาตรงตามวัตถุประสงค์ในการจัดการความรู้ โดยชุดทักษะสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรของฝ่ายผลิตและฝ่ายควบคุมคุณภาพ ของหน่วยธุรกิจเพื่อผู้บริโภค(BU-C) ได้ พนักงานเห็นเส้นทางการเติบโต (Career Path) และขังช่วยขยายผลในการไปประยุกต์ใช้กับงานที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ได้ เช่น การสรรหา การประเมินผลการปฏิบัติงานen_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
592132001 จารุกร เพ็ญสละพันธ์.pdf32.89 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.